Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ(Health Care Financing) - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ(Health Care Financing)
เเนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณสุข(Process of funding health service)
เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักเเละพัธกิจรอง โดยมีเป้าหมาย(Gold)คือ สถานะสุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด (Maximise health) อย่างถ้วนหน้า(Health for all)
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ (Health financing objective)
1.ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศยากจน จะหาเงินจากไหนให้พอในการจัดบริการ
ประเทศปานกลาง จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นได้อย่างไร
2.จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ จะเลือกซื้อบริการอะไร
การจ่ายค่าบริการ
เพื่อให้ผู้บริการมีเเรงจูมีปร
มีประสิทธิภาพในการบริการสูงจ่ายค่า บริการอย่างไร อัตราเท่าใด
3.ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
จ่ายเงินอย่างไรให้ประชาชนได้รับบริการเท่าเทียมกัน
Health Financing Process
1.Revenue Collection (การจัดเก็บรายได้)
2.Risk Pooling (การรวมความเสี่ยง)
3.Resource Allocation and Purchasing (การจัดสรรทรัพยากรเเละการจัดซื้อ)
4.Service Provision(เงื่อนไขบริการ)
หน่วยบริการสุขภาพ
ระบบบริการรัฐบาล
ระบบบริการภาคเอกชน
เเหล่งเงินภาครัฐ
งบประมาณภาครัฐ
สวัสดิการข้าราชการ
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
สภาพปัญหาการคลังในระบบบริการสุขภาพ
เกิดความซ้ำซ้อนในการบริการจัดการ
การลักลั่นของสิทธิประโยชน์
ภาระเบี้ยประกัน
การจัดการบริหารด้านการเงินการคลัง
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลทางการเงิน
การเปลี่ยนเเปลงโครงสร้างประชาชน
การเปลี่ยนเเปลงด้านเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนเเปลงสถานภาพเเละกระบวนการรักษา
การเปลี่ยนเเปลงการอภิบาลระบบ
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกันเเละผู้ให้บริการ
ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก
จริยธรรมการให้บริการโดยการใช้บริการมากเกินจำเป็น
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง
ผู้ให้บริการ
จริยธรรมในการให้บริการ
การให้บริการเกินความจำเป็น
การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น
ความไม่สมมาตรของข้อมูล(Asymmetric Information)
กรณีที่มีความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดเเต่ละฝ่ายนั้นไม่เท่ากัน
Moral hazard
1.ปัญหา moral hazard คือ พฤติกรรมหลังจากที่ผู้ทำประกันทำประกันเเล้ว อาจเกิดความรู้สึกฉันอยากทำอะไรก็ได้ ต้องใช้ประกันให้คุ้ม
เกิดก่อนป่วย คือ เมื่อเรารู้ว่าไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง เราอาจไม่ระวังรักษาสุขภาพ อาจดื่มเหล้าสูบบุหรี่มากขึ้น
เกิดหลังป่วย คือ ถ้าไม่มีประกันสุขภาพ ถ้าเราเจ็บป่วยเล็กน้อยเราจะรอดูอาการก่อนจนหาย
2.ปัญหา adverse selection กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำเเละสูง บริษัทจะเเยกไม่ได้ว่าใครเจ็บป่วย้เสี่ยงสูงหรือต่ำ
ประเภทของประกันสุขภาพ(Type of health insurance)
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี(Tax-based health insurance) เช่น ข้าราชการ
การประกันสุขภาพเเบบบังคับ(Compulsory health insurance)เช่น พรบ. ประกันสังคม
การประกันสุขภาพเเบบสมัครใจ ( Voluntary health insurance) เช่น ประกันชีวิต ประกันโควิด
การจ่ายเงินให้สถานบริการ
จ่ายย้อนหลังตามบริการ
จ่ายล่วงหน้าตามข้อตกลง
จ่ายเงินเเบบผสม
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือกเเละการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
ผู้ป่วยเลือกซื้อบริการสุขภาพเป็นส่วนใหญ่
อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้อราชการสูงมาก
ความไม่เท่าเทียมของบริการเเละค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ