Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ - Coggle Diagram
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ส่วนบน (Upper Urinary tract)
หน่วยไต (Nephron) ทำหน้าที่สร้างปัสสาวะ
กรวยไต (renal pelvis) ส่งมาตามท่อไต (Ureter)
ไตสองข้าง (Kidney) เป็นการกรองเอาน้ำและของเสียออกจะโลหิต
ท่อไต (Ureter) นําปัสสาวะออกจากไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
ส่วนล่าง(Lower urinary tract)
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder) เป็นที่เก็บน้ำปัสสาวะชั่วคราว
ท่อปัสสาวะ (Urethra)นำน้ำปัสสาวะออกนอกร่างกาย
Tubulo-interstitial diseases
คือความผิดปกติของ Tubule และ ingterstitium
Acute interstitial nephritis
พบ interstitial edema ร่วมกับ leukocytic infiltration และ tubular necrosis
Chronic interstitial nephritis
พบ interstitial fibrosis tubular atrophy เเละ mononuclear cell infiltration
Renal malformations (ความผิดปกติของไต)
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Agenesis(ไตฝ่อหรือภาวะไม่มีเนื้อไต
)
Renal agenesis นั้นอาจเป็นได้ทั้ง สองข้าง หรือ ข้างเดียว
อาจเป็นร่วมกับ ปอดไม่เจริญ แขนขาผิดรูปร่าง และ มีรูปหน้าจำเพาะ
Supernumerary kidney
ภาวะที่ไตมีมากกว่าสอง ส่วนใหญ่จะเป็นสามไต
Hypoplasia
ภาวะที่ไตมีขนาดเล็กกว่าปกติ
Potter's Syndrome
แขนขาผิดรูปร่าง คือ โก่ง และ บิด
เกิดจากการที่ทารกในครรภ์มีภาวะขาดน้ำคร่ำ
ความผิดปกติในตำแหน่ง รูปร่าง และ Orientation
Malrotation
ภาวะที่ไตมี Renal pelvis และ Ureter อยู่ด้านหน้า
Fusion of kidney หรือ Horseshoe kidney
มีการเชือมกันตรงกลางระหว่างเนื้อไตทะ้งสองข้าง
Ectopia
ภาวะที่ไตอยูในตำแหน่งที่ผิดปกติ เช่น อยู่ในอุ้มเชิงกราน เป็นได้ทั้งข้างเดียวและ สองข้าง
Tubular diseases
เป็นภาวะการถูกทําลาย อย่างเฉียบพลันของ Renal tubule
Acute tubular necrosis (ATN)
ชนิด
Nephrotoxic type ได้รับสารพิษ
Ischemic type : shock
มี 3 ระยะ
ระยะที่ 2 Diuretic phase
เกิดในช่วงกลาง มีการสร้างเซลล์ใหม่แต่สามารถดูดกลับน้ำได้เต็มที่จึงทำให้ปัสสาวะมาก
ระยะที่ 3 Recovery phase
เกิดในช่วงหลัง เมื่อนานเข้า Tubular cell สามารถดูดน้ำกลับได้ปกติทำให้ปัสสาวะได้ปกติ
ระยะที่ 1 Oliguric phase
เกิดในช่วงแรก เมื่อมีการตายของ renal tubule ทําให้ Renal cell หลุดออกมาอุดตันทําใหป้สสาวะน้อย
Glomerular diseases
Glomerulonephritis (GN) เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
การอักเสบภายนอกไต ส่วนใหญ่เป็นภาวะภูมิเเพ้ตัวเอง
ไม่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
พบได้บ่อยคือ โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic nephropathy)
หรือผลจากการรักษาโรคเบาหวาน
กลไกการเกิด
การกรองเพิ่มขึ้น (hyperfiltration)
เนื่องจากกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดนำ เลือดเข้าโกลเมอรูลัส
เลือดไหลเวียนไปกรองมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของกลไกการทํางานของ Renin
ทำให้เกิดภาวะ hyperkalemia ภาวะกรดเกิน
Renal cystic diseases
Polycystic kidney disease
Adult type (ผู้ใหญ่)
ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบ autosomal dominant
ผิวนอกตะปุ่มตะป่ำ
Infantile type (เด็ก)
ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบ autosomal recessive
ไตมีขนาดใหญ่ทั้งสองข้าง ผิวหนังนอกเรียบ
Medullary cyst
Medullary sponge kidney
มีการขยายใหญ่เป็นถุงของ collecting tubule ของ medulla
Uremic Medullary cystic disease
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุกรรม มักมีอาการตั้งแต่เด็ก
พบมี cyst อยู่ Medulla
เป็นรอยโรคที่อาจเกิดจากพันธุกรรม การเจริญที่ผิดปกติ หรือ เกิดขึ้นภายหลัง
Simple cyst
พบ cyst เดียวหรือหลายอัน ขนาดอาจมีทั้งเล็กและใหญ่
พบบริเวณ cortex เกิด dilatation ของ tubule อาจทําให้เลือดออก
Urinary tract obstruction
ภาวะที!มีการอุดกั้น ของทางเดินปัสสาวะ
ผลจาก Urinary tract obstruction
มีโอกาสเกิดนิ่ว และ การติดเชื้อเพิ่มขึ้น
ทําให้ทางเดินปัสสาวะที่อยุ่เหนือทางอุดตันขึ้นไปขยายตัว
Hydronephrosis
เกิดจากการอุดกั้น ของทางเดินปัสสาวะอาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้
สาเหตุ
การอุดกั้นจากรอยโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่น นิ่ว เนื้องอก และ การอักเสบ
เป็นความพิการแต่กําเนิด
Urinary tract infection
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
crystalloid ตกตะกอนมากขึ้น (การคั่งของปัสสาวะ)
Foreign bodies (แบคทีเรีย)
crystalloid conc เพิ่ม ขึ้นในปัสสาวะ(ปัสสาวะน้อย)
Nephrocalcinosis
สาเหตุเกิดจาก Hypercalcemia
กลไก
การมีระดับ เเคลเซียมในเลือดสูง
เกิดการตกตะกอนของเเคลเซียมในเนื้อไต
ภาวะที่มี calcium สะสมในเนื้อไต
กรวยไตอักเสบ( Pyelonephritis)
Acute Pyelonephritis
เกิดทันทีและรุนแรง
มีอาการไตบวมโตมีเลือดคั่ง
Chronic Pyelonephritis
เกิดจากการควบคุมสาเหตุของโรคไม่ได้
เป็นการอักเสบไม่รุนแรง เป็นๆหายๆ
ความผิดปกติในส่วนของ Ureter
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ(Cystitis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียมักเกิดในผู้หญิง เนื่องจากมีท่อปัสสาวะสั้น
สาเหตุ
การสะเทืิอนหรือหลังมีเพศสัมพันธ์
มีสิ่งแปลกปลอมในท่อทางเดินปัสสาวะ
ดื่มน้ำน้อย ดื่มแอลกอฮอล์มาก
การกลั้นปัสสาวะ
อาการท่อปัสสาวะอักเสบ
อาจมีหนองออกจากปลายท่อปัสสาวะ
อาจคลำได้ต่อมน้ำเหลืองขาหนีบโตเจ็บ ข้างเดียวหรือสองข้าง
Vesicoureteral reflux
เป็นความผิดปกติเกิดจากมีการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะเข้าไปในหลอดไต และ Renal pelvis
สาเหตุ
การบาดเจ็บจากภายนอก
มีความผิดปกติของ sphincter
การทําศัลยกรรมทางการแพทย์
ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
ท่อปัสสาสาวะ
เป็นการบาดเจ็บ อักเสบ บวม ของเซลล์เยื่อเมือกบุท่อปสสาวะ
สาเหตุ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
จากเชื้อที่ไม่ใช่หนองใน เช่น โรคเริม
Ureteric Obstruction
การอุดกั้น เหล่านี้ทําให้ปัสสาวะที่สรา้งแล้วขับถ่ายออกจากร่างกายไม่ได้หรือได้น้อย เกิด Hydronephrosis ของไตข้างนั้นๆ
สาเหตุ
นิ่วที่หลุดมาจากส่วนของไต
หลอดไตตีบ(stricture) อาจเป็นมาแต่กําเนิดหรือ เป็นผลจากการอักเสบ
โครงสรา้งของหน่วยไต (Nephron)
Renal corpuscle
Renal tubule