Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ Diseases of Urinary system - Coggle Diagram
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ
Diseases of Urinary system
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบถ่ายปัสสาวะส่วนบน
ไตสองข้าง
กรองเอาน้ำและของเสียออกจากเลือดเป็นบัสสาวะ
หน่วยไต
สร้างปัสสาวะ
กรวยไต
ส่งมาตามท่อไต
ท่อไต
นำน้าปัสสาวะออกจากไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง
เก็บพักปัสสาวะที่สร้างจากไตและเป็นทางส่งปัสสาวะขับทิ้งออกนอกร่างกาย
ท่อปัสสาวะ เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะออกนอกร่างกาย ซี่งผู้ชายและหญิงจะแตกต่างกัน
กระเพาะปัสสาวะ เป็นที่เก็บน้ำปัสสาวะไว้ชั่วคราว
โครงสร้างของหน่วยไต
Renal corpuscle
Renal tubul
ความผิดปกติของไต (Renal malformations)
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Agenesis
ไตฝ่อหรือภาวะไม่มีเนื้อไต
Renal agenesis อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
ถ้าเป็นสองข้าง เรียกว่า Potter's syndrome
ปอดไม่เจริญ แขนขาผิดรูป มีลักษณะใบหน้าแบบจำเพาะ
Potter's syndrome
เกิดจากทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขาดน้ำคร่ำ ทำให้ร่างกายถูกกด
การแบ่งตัวของเซลล์ผิดปกติ
เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตแต่กำเนิด
แขนขาที่ผิดปกติบ่อย คือ รูปร่างผิดปกติ โก่ง บิด ข้อเคลื่อน
Potter's facies หูติดต่ำ ผิวย่น จมูกงุ้ม คางเล็ก มีสันนูนเด่นที่คิ้ว
Hypoplasia
ภาวะที่ไตมีขนาดเล็กกว่าปกติมากกว่าร้อยละ 50
จำนวน renal lobule และ calyx ลดลงแต่เนื้อไตไม่มีความผิดปกติ
Supernumerary kidney
ภาวะที่มีจำนวนไตมากกว่าสอง ส่วนใหญ่จะเป็นสามไต
ไตที่เกินจะเเยกออกจากไตปกติหรือเป็นภาวะไตแฝด
ความผิดปกติในตำแน่ง รูปร่าง และ Orientation
ทารกสร้างเซลล์ไตขึ้นใหม่ จะอยู่ในอุ้มเชิงกราน
ต่อมาขยับเข้าไปในช่องท้อง
ขณะเดียวกันมีการหมุนตัวของไตให้อยู่ในตำแหน่งผิดปกติ
กรณีนี้ไม่ทำให้ทารก มีอาการผิดปกติและยังมีชีวิตอยู่ได้
Ectopia
ไตอยู่ผิดปกติ เช่น อยู่ในอุ้มเชิงกราน
อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
Malrotation
ภาวะที่ไตมี renal pelvis และ ureter อยู่ด้านหน้า
Fusion of kidneys
การเชื่อมกันตรงกลางระหว่างเนื้อไตทั้งสองข้าง
Renal cystic diseases
เป็นโรคที่อาจเป็นพันธุ์กรรมการเจริญผิดปกติ หรือ เกิดขึ้นภายหลัง
มักก่อให้เกิดปัญหาในการวินัจฉัย จากเนื้องอกของไต
Polycystic kidney disease
Adult type
พบบ่อย เป็นทั้ง2 ข้าง
ถ่ายทอดทางพันธุ์กรรมแบบ autosomal dominant
ไตมีขนาดใหญ่ หนักถึง 4 กิโลกรัม
ผิวนอกตะปุ่มตะป่ำ หน้าตัดประกอบด้วย cyst ขนาดใหญ่ 3-4 cm.
Infantile type
พบได้ตั้งแต่ทารกแรกเกิด มักเสียชีวิตในระยะเเรกๆ
ถ่ายทอดพันธุ์กรรม autosomal recessive
ไตมีขนาดใหญ่ทั้งสองข้าง ผิวหนังนอดเรียบ หน้าตัดพบcyst ที่ cortex และ medulla
เนื้อมีลักษณะพรุนแบบฟองน้ำ
Medullary cyst
Medullary sponge kidney
มีขยายใหญ่เป็นถุงของ collecting tubule ของ medulla
พบในผู้ใหญ่
ไตทำงานปกติ
Uremic Medullary cystic disease
เป็นโรคถ่ายทอดทางกรรมพันธ์ุ มีอาการตั้งแต่เด็ก
พบ cyst อยู่ในบริเวณ medulla
Simple cyst
พบ cyst เดียวหรือหลายอันขนาดเล็กใหญ่
มักพบอยู่ในบริเวณ cortex
Glomerular diseases
พยาธิสภาพที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน (Glomerulonephritis (GN))
การอักเสบภายนอกไตที่มีผลต่อไต
เป็นภาวะแพ้ภูมิตนเอง
Malaria
Syphilis
Hepatitis
Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
พยาธิสภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
พบบ่อยคือ โรคไตจากเบาหวาน
ภาวะที่พบบ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ความดันโลหิตสูง
การติดเชื้อในกระแสเลือด
tubulo-interstitial diseases
เป็นกลุ่มของโรคที่มีความผิดปกติในรูปร่าง และหน้าที่
เกิดจากหลายสาเหตุ ได้แก่ ยา การติดเชื้อ immunological reaction
Tubular diseases
โรคที่สำคัญ Acute tubular necrosis (ATN)
ชนิด
Nephrotoxic type
ได้รับสารพิษ
Ischemic type
shock
ระยะ
ระยะที่ 1 Oliguric phase
เกิดในช่วงแรก มีการตายของ renal tubule ทำให้ renal cell หลุดมาอุดตันทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อยและมีอาการบวม
ระยะที่ 2 Diuretic phase
เกิดในช่วงกลาง
เวลาผ่านไป tubular cell ตาย สลายและมีการสร้าง cell ใหม่
เซลล์ใหม่ที่สร้างไม่สามารถดูดน้ำกลับได้เต็มที่ ปัสสาวะจึงออกมา
ระยะที่ 3 Recovery phase
เกิดในช่วงหลัง
เมื่อนานเข้า tubular cell ดูดน้ำกลับได้ปกติ ปัสสาวะจึงมีปริมาณปกติ
ภาวะถูกทำลายเฉียบพลันของ Renal tubule
เกิดจากขาดเลือดไปเลี้ยงไตเป็นเวลานาน
Urinary tract infection (UTI)
กรวยไตอักเสบ (pyelonephritis)
อาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้าง
Acute phelonephritis
เกิดทันทีและรุนแรง แต่เมื่อได้รับการรักษาจะหาย
มีอาการไตบวมมีเลือกคั่ง พบจุดหนองกระจายเป็นทาง
รายที่รุนแรง เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน หรือ รายที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
Chronic Pyelonephritis
เป็นการอักเสบไม่รุรแรง แต่เป็นๆ หายๆ
ไตมีขนาดเล็กลง ผิวขรุขระ จากรอยแผลเป็น U ที่เกิดจากการทำลายของเนื้อไต
มักเกิดจากการควบคุมสาเหตุของโรคไม่ได้
นิ่วในไตเรื้อรัง
ต่อมลูกหมากโต
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ Urolithiasis , urinary calculi
ประกอบด้วย amorphous crystallaid
uricacid
calcium
oxalate
magnesium phosphate
ปัจจัยส่งเสริม
crystalloid conc.เพิ่มขึ้นในปัสสาวะ : ปัสสาวะน้อย
crystalloid ตกตะกอนมากขึ้น : การคั่งของปัสสาวะ
Foreign bodies : แบคทีเรีย
Nephrocalcinosis
ภาวะที่มี calcium สะสมในเนื้อไต
Nephrocalcinosis เป็นสาเหตุของการเกิดนิ่วในไต
สาเหตุเกิดจาก Hypercalcemia
กลไกการเกิด
แคลเซียมในเลือดสูง
เมื่อเลือดกรองที่ไตแคลเซียมส่วนหนึ่งถูกดึงใช้ในยามจำเป็น ส่วนที่เหลือถูกขับออก
เมื่อเลือดมีแคลเซียมสูง ร่างกายขับแคลเซียมออกไม่หมด เกิดการตกตะกอนของแคลเซียมในเนื่อไต
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract obstruction)
สาเหตุ
ความพิการแต่กำเนิด
อุดกั้นจากโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง ได้แก่ เนื้องอก การอักเสบ
ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานกระเพาะปัสสาวะ
ผล
ทำให้ทางเดินปัสสาวะส่วนใหญ่อยู่เหนือตำแหน่งที่มีการอุดตันขึ้นไปขยายตัว
มีโอกาสเกิดนิ่ว และ ติดเชื้อเพิ่มขึ้นและทำลายเนื้อไตถาวร
Hydronephrosis
ภาวะมี dilatation ของ renal pelvis และ Calyx ร่ววมกับมี Progressiv
สาเหตุจากการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
ความผิดปกติในส่วนของ Ureter
พยาธิสภาพที่สำคัญ
การอุดกั้น
เนื้องอก
vesicoureteral reflux
Ureteric Obstruction
สาเหตุ
นิ่วที่หลุดดมาจากไต
หลอดไตตีบ อาจเป็นแต่กำเนิด หรือ ผลจากการอักเสบ
เนื้องอกของ Ureter
เนื้องอกของอวัยวะใกล้เคียง เช่น ปากมดลูกและมดลูก
การอุกกั้นทำให้ปัสสาวะที่สร้างแล้วขับออกไม่ได้หรือน้อยทำให้เกิด Hydronephrosis ของไตข้างนั้น
ถ้าการอุดกั้นเกิดในส่วนล่างของหลอดไต อาจเกิดการโป่งพองของ Ureter
Vesicoureteral reflux
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะ
พบมากในเด็ก อาจทำให้มีการติดเชื้อและเป็น สาเหตุของ pyelonephritis
สาเหตุ
การทำศัลยกรรม
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็ยภายนอก
พันธุกรรม
ความผิดปกติของ sphincter
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนที่ออกจากกระปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะอักเสบ
เป็นการบาดเจ็บ อักเสบ บวม ของเซลล์เยื่อเมือกบุท่อปัสสาวะ
พบได้ในทุกช่วงอายุ แต่มักพบได้สูงในวัยที่มีเพศสัมพันธ์ คือ 20-35 ปี
ผู้หญิงมีโอกาสติดเชื้อสูง
สาเหตุ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ติดเชื้อจากโรคหนองใน หรือโกโนเรีย
จากเชื้อที่ไม่ใช้หนองใน เช่น โรคเริม โรคซิฟิลิสจากการติดเชื้อ HIV
การติดเชื้อที่ไม่ใช่จากเพศสัมพันธ์
เชื้อ E.coli (staphylococcus) หรือเชื้อ Pseudomonas ซึ่งติดต่อผ่านลำไส้หรือกระเพาะปัสสาวะ
สาเหตุที่ไม่ใช้จากการติดเชื้อ
การบาดเจ็บของท่อปัสสาวะ เช่น การผ่าตัด การใส่คาท่อปัสสวะ
อาการของผู่ป่วยที่เป็นท่อปัสสาวะอักเสบ
ในผู้ชายโดยทั่วไปอาการจะเหมือนผู้หญิงแตกต่างคือ อาจมีหนองออกมาจากปลายท่อปัสสวะ
อาจคลำได้ต่อมน้ำเหลืองขาหนีบ โต เจ็บ ข้างเดียวหรือสองข้าง
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
เกิดจากการเชื้อแบคทีเรีย
มักเกิดในผู้หญิง เนื่องจากท่อปัสสาวะสั้น และรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ใกล้ทวารหนัก
สาเหตุ
การกลั้นปัสสาวะ
หลังการกระเทือน หรือ หลังมีเพศสัมพันธ์
เกิดการอักเสบของท่อปัสสาวะ
มีสิ่งแปลกปลอมในท่อทางเดินปัสสาวะ
อาหารหรือยาบางอย่าง เช่น อาหารที่มีเกลือมาก
ดื่มน้ำน้อย ดื่มแอลกอฮอล์มาก
ท่อปัสสาวะ
ผู้ชายขนาดยาวเฉลี่ย 20 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 มม. มีทั้งส่วนอยู่ภายในและนอก
ผู้หญิงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 มม. แต่มรขนาดสั้นกว่ามาก ยาวเพียง 4 ซม. อยู่ภายในทั้งหมด