Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Pregnancy…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Pregnancy-induced hypertension)
การพยาบาล :<3:
ขณะตั้งครรภ์
ตรวจร่างกายของหญิงตั้งครรภ์ เช่น มีการบวมตามร่างกาย การตรวจวัดค่าความดันโลหิต การตรวจปัสสาวะ ทุกครั้งที่มาตรวจครรภ์ตามนัด เพื่อหาความผิดปกติที่อาจเกิดได้ขณะตั้งครรภ์
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและการป้องกันไม่ให้มีความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้น เช่น
การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ควรงดอาหารหมักดอง และอาหารที่มีรสชาติเค็ม ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อช่วยในการควบคุมค่าความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์พักผ่อนอย่างเพียงพอ 8-10 ชั่วโมง และหลีกเลี่ยงความเครียด เพื่อป้องกันความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น
แนะนำหากหญิงตั้งครรภ์มียาที่ต้องรับประทานเพื่อควบคุมค่าความดันโลหิต ควรรับประทานให้ครบถ้วนและต่อเนื่องตามแผนการรักษา ไม่ควรซื้อยามารับประทานเองและไม่ควรหยุดยาเอง
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์นับลูกดิ้นอย่างถูกวิธี เพื่อสังเกตอาการผิดปกติของทารกในครรภ์
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์สังเกตอาการของความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง เช่น การมีภาวะบวมน้ำ มีอาการปวดศีรษะมาก หน้ามืด มีตาพร่ามัว เจ็บแน่นบริเวณลิ้นปี่ ควรมาพบแพทย์ทันที
ระยะคลอด
การพักผ่อน (bed rest) โดยนอนพักบนเตียงให้มากที่สุด โดยเฉพาะท่านอตะแคงซ้าย
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ และลดการกระตุ้นผู้ป่วยทั้งจากแสง เสียง สัมผัส
(Reduce sensory stimulation)
วัดความดันโลหิต และ Deep tendon reflex ทุก 1-2 ชั่วโมงหรือตามความรุนแรงของอาการ
ประเมิน Headache, visual disturbance, epigastric pain
ตรวจ Urine protein และเก็บ Urine Protein 24 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชักคือ Magnesium sulfate ตามแนวทางการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษาได้แก่ Nifedepine, Labetalol, Hydralazine
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ กรณีให้ยาแมกนีเซียมซัลเฟต
ติดตามระดับแมกนีเซียมในเลือด ให้อยู่ในระดับของการรักษา (therapeutic level)
เตรียมและให้ยาแคลเซียมกลูโคเนททางหลอดเลือดดำ กรณีผู้ป่วยมีอาการแสดงของการเป็นพิษจากยาแมกนีเซียมซัลเฟต
ประเมินและให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะของโรค แนวทางการดูแลรักษา อาการผิดปกติ และการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองและทารกในครรภ์
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด และให้ข้อมูลความก้าวหน้าของการคลอดแก่ผู้ป่วย
ประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด และติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ รวมทั้งบันทึกผลการตรวจติดตาม
เตรียมผู้ป่วยเพื่อการคลอดตามความเหมาะสม และช่วยแพทย์ในการทำสูติศาสตร์หัตถการ
ก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์ครั้งแรก แนะนำให้เจาะเลือดเพื่อประเมิน Baseline CBC with platelet, BUN, Cr, AST, ALT,uric acid และส่งตรวจปัสสาวะเพื่อประเมิน Baseline urine protein 24 hr
การพิจารณาเลือก Anti-hypertensive agents จะพิจารณาให้ในรายที่วัดความดันโลหิตที่ รพ.ได้ ≥ 140/90mmHg
เฝ้าระวังการเกิดภาวะ Superimposed preeclampsia และการเกิดPreeclampsia with severe feature
โดยมีข้อแนะนำให้วัดความดันโลหิตที่บ้านทุกวัน หากความดันโลหิตสูงเกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ให้รีบมาพบแพทย์ทันที
พิจารณาให้ Low dose aspirin คือ Aspirin(81) 1x1 oral pc ตั้งแต่ GA 12-36 wksในรายที่มีความเสี่ยงต่อ
การเกิด Preeclampsia with severe feature
กรณี Chronic HT ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกในครรภ์ ไม่แนะนำให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 38สัปดาห์
ระยะหลังคลอด
ในรายไม่รู้สึกตัวให้นอนราบตะแคงหน้าส่วนในรายที่รู้สึกตัวให้นอนท่าFowler’s position
ประเมินการการหดรัดตัวของมดลูก
Observe Bleeding จากแผลผ่าตัดหรือจากช่องคลอด
บันทึกสัญญาณชีพ และบันทึก I / O ถาีพบว่า RR < 14 ครั้งต่อนาที BP ≥ 160 /110 mmHg Urine
Out Put < 30 ml ใน 1 ชั่วโมง รายงานแพทย์เพื่อร่วมดูแลรักษาต่อไป
ให้ IV Fluid ที่ผสม Mg SO4 drip ด้วยเครื่อง Infusion pump หลังให้ยาให้บันทึกสัญญาณชีพและตวงปัสสาวะทุก 1 ชม
จัดอาหาร Low Salt และ High Protein ในรายที่สามารถรับประทานอาหารได้
ในการให้นมบุตร ในกรณีมารดาหลังคลอดได้รับ IV Fluid ที่ผสม Mg SO4 และ BP < 150 /100 mmHg สามารถให้ทารกมาดูดนมได้และต้องดูแลอย่างใกล้ชิด และหากมารดาBP ≥ 160 /110 mmHg ควรงดดูดนมก่อนจนกว่าความดันโลหิตจะลดลง
ผลต่อมารดาและทารก :!!:
ผลต่อมารดา
รกเสื่อม
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกที่คลอดมาอาจมีภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อทารก
อันตรายจากภาวะชัก / เสียชีวิต
ภาวะหัวใจทำงานล้มเหลว
เสียเลือด และช็อคจากรกลอกตัวก่อนกำหนด / ตกเลือดหลังคลอด
เกิดภาวะ HELLP syndrom
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
การกลับเป็นความดันโลหิตซ้ำอีก
ประเภท :red_flag:
Preeclampsia-eclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ ร่วมกับมีความผิดปกติของร่างกายในหลายระบบ โดยทั่วไปมักเกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
Chronic hypertension
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ไม่ว่าจากสาเหตุใดใดก็ตาม หรือตรวจพบความดันโลหิตสูงก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
เกิดในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น Chronic hypertension
Gestational hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ ที่ตรวจพบหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ แต่ไม่พบ Proteinuria และความดันโลหิตมักกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
ความหมาย :fire:
ภาวะที่มี systolic blood pressure (SBP) ≥ 140 mmHg หรือ diastolic blood
pressure (DBP) ≥ 90 mmHg และมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะ หรือ proteinuria
สาเหต
ยังไม่ทราบแน่นอน แต่มีปัจจัยเสี ยง • ครรภ์แรก อายุ < 18 ปี หรือ อายุ > 35 ปี • มีความดันโลหิตสูงเรื้อรัง • ครรภ์แฝด ครรภ์ไข่ปลาอุก ครรภ์แฝดน้้า • ฐานะทางเศรษฐกิจต่ำา • รับประทานอาหารที มีรสเค็มจัด พวกแป้งขาดโปรตีนและวิตามิน
พยาธิสรีรวิทยา
การเพิ่มของVasoconstrictor tone มีการหดรัดตัวของเส้น เลือด arterioles ทั่วร่างกาย ท้าให้แรงดันในเส้น เลือดสูง
Abnormal prostaglandin actionในการสร้าง prostaglandin มีสารที พบด้วย 2 ชนิด 1) prostacyclin (vasodilator) 2) thromboxane (vasoconstrictor) ใน GHT มีการลดลงของ prostacyclin ท้าให้ฤทธิ์ของ thromboxaneลดลง
แนวทางการรักษา
ให้ยาระงับประสาท : Phenobarbital
ให้ยาลดความดันโลหิต : Hydralazine
ให้ยาขับปัสสาวะ ในรายที บวมมากปอดบวมน้้า
ให้ยาป้องกันการชัก เมื อพบว่ามี Reflex ไวมาก : MgSo4
ลักษณะทางคลินิก
Mild preeclampsia
ความดันโลหิตสูง >= 140/90 มม.ปรอท
บวม นน.ตัวเพิ มขึ้น > 1.5 กก./2 wk
ไข่ขาวในปัสสาวะ
Severe preeclampsia ความดัน >=160/110 มม.ปรอท
บวมทั้งตัว น้ำคั่งในปอด
ไข่ขาวในปัสสาวะ 3+ ถึง 4+
ปัสสาวะ < 500 cc/day
มีอาการน้าของอาการชัก ปวดศีรษะมาก ซึม
ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน
คลื่นไส้ อาเจียนพุ่ง
ปวดเจ็บบริเวณลิ้นปี่หรือชายโครงขวา
hyperreflexia
เด็กดิ้นน้อยลง