Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคระบบทางเดินปัสสาวะ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคระบบทางเดินปัสสาวะ
พยาธิสรีรวิทยาของโรค เกิดจากการติดเชื้อพวกแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอดหรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะ ย้อนกลับขึ้นไป (Ascending infection) ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทำงานของ ระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์ จากผลของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) และการขยายตัวของขนาดมดลูก เป็นปัจจัยเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดิน ปัสสาวะได้ โดยการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยามีดังนี้
ปัจจัยเสี่ยง
มีภาวะโลหิตจาง
เป็นเบาหวาน
มีประวัติได้รับการสวนปัสสาวะ
มีประวัติการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ชนิดการติดเชื้อ
ติดเชื้อที่ไม่แสดงอาการ
1.นำปัสสาวะไปเพาะเชื้อ จะพบปัสสาวะมากกว่า 10^5 โคโลนี/มล
2.เชื้อแบคทีเรียเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ Escherichia Coil
ติดเชื้อที่แสดงมีอาการ
1.ปวดปัสสาวะบ่อย กระปริดกระปรอย ปัสสาวะขัดและเจ็บเสียวเมื่อปัสสาวะสุด
2.ตรวจปัสสาวะพบว่ามีเม็ดเลือดขาวมาก
3.ปัสสาวะจะขุ่นหรือมีเลือด โดยเฉพาะเวลาปัสสาวะสุด
การวินิจฉัยและการตรวจห้องปฏิบัติการ
1.ซักประวิติ
2.LAB
Urinalysis
Urine culture
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระ
ระบบปัสสาวะตั้งแต่กรวยไตจนถึงท่อไตขยายใหญ่ขึ้น โดยเฉพาะด้านขวาซึ่งอาจเป็นผลมาจากฮอร์โมน progesterone ร่วมกับการถูกกดทับโดยมดลูกที่โตขึ้น
มีการคั่งของน้ำปัสสาวะในไต ท่อไตค้างอยู่นาน เป็นสาเหตุให้เกิดการติดเชื้อ
มีการเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต
ส่งผลให้มีระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิ่มขึ้นร้อยละ70-80 เป็นผลให้creatinine และ BUNในเลือดต่ำลง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เก็บปัสสาวะเพื่อนับจำนวนเม็ดเลือดขาวและแบคทีเรีย
ทำความสะอาดหลังจากปัสสาวะหรืออุจจาระทุกครั้ง
3.ไม่สวมกางเกงในรัดรูปหรืออับชื้น
4.ดื่มน้ำวันละ2,000-3,000 cc.เพื่อไม่ให้ปัสสาวะคั่ง
5.รับประทานอาหารใเหมาะสม หลีกเลี่ยงน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มี Alcohol เครื่องเทศ
6.ให้มารดาได้รับยาตามแผนการรักษา
7.แนะนำไม่ให้กลั้นปัสสาวะ
8.ดูแลให้มารดาพักผ่อนอย่างเพียงพอ
9.สังเกตอาการผิดปกติ เช่น ปัสสาวะแสบขัด ขุ่น เป็นต้น
10.บันทึกสัญญาณชีพ
11.แนะนำให้มารดานับลูกดิ้น
ระยะคลอด
1.บันทึกสัญญาณชีพ
2.ทำความสะอาดหลังจากปัสสาวะหรืออุจจาระทุกครั้ง
3.สังเกตและประเมิน EFM
ระยะหลังคลอด
1.ดูแลให้ได้มารดาถ่ายปัสสาวะภายใน 6 ชั่วโมงหลังคลอด
2.ท่าความสะอาดหลังจากปัสสาวะหรืออุจจาระทุกครั้งโดยเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลัง
3.ดื่มน้ำมากๆ 2,000-3,000 cc./day เพื่อไม่ให้ปัสสาวะคั่ง
4.บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะ T
5.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
6.แนะนำไม่ให้กลั้นปัสสาวะและไม่สวมกางเกงในรัดรูปหรืออับชื้น
7.แนะนำให้นอนพักผ่อนให้เพียงพอ
8.สังเกตอาการที่ผิดปกติ เช่น ปัสสาวะแสบขัด, มีลักษณะขุ่น
9.แนะนำให้มาตรวจตามนัด
ระบาดวิทยา
การติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะเป็นภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรมที่พบบ่อยที่สุดในระยะตั้งครรภ์ เกิดขึ้นประมาณร้อยละ 10-15 เชื้อที่พบบ่อย คือ E. coli , Klebsiella , Proteus เชื้ออื่นๆ ก็พบได้เช่น Pseudomonas, Staphylococcus รวมทั้ง group-D และ group-B streptococcus
การรักษา
1.การตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะUA / UC
2.ให้ยา cephalosporins 5 วัน
3.F/U และตรวจUA ในอีก 2 สัปดาห์
4.ส่งเพาะเชื้อซ้ำถ้ายังมีWBCในurine
ผลต่อมารดาและทารก
มารดา
ความดันโลหิตสูง
ภาวะโลหิตจาง
ทารก
เจริญเติบโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
มีน้ำหนักตัวน้อย