Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์โรคไทรอยด์ (Thyroid) - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์โรคไทรอยด์ (Thyroid)
ภาวะไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ (Hyperthyroidism)
ความหมาย
ต่อมไทรอยด์ทำงานและสร้างฮอร์โมน T3 และ T4 ออกมามากกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง
ต่อมไทรอยด์มีขนาดโตกว่าปกติ
ใจสั่น ใจหวิว
PR > 100 ครั้ง/นาที และเร็วแม้ขณะนอนพัก
ความดันโลหิตสูง
มือสั่น เหงื่ออกมาก ขี้ร้อน ทนร้อนไม่ได้
กินเก่ง กินจุ น้ำหนักลด ท้องเสียง่าย
เหนื่อยล้า กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง กล้ามเนื้อลีบ
คอพอก ตาโปน เห็นภาพซ้อน
อารมณ์อ่อนไหว แปรปรวน หงุดหงิดโมโหง่าย
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
มารดา
ภาวะ preeclampsia
ภาวะหัวใจล้มเหลว
บางรายเสียชีวิตได้
ทารก
การแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ตายปริกำเนิด
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์
แรกคลอดน้ำหนักน้อย
พิการแต่กำเนิด
ทารกในครรภ์อาจเกิดภาวะไทรอยด์เป็นพิษ เนื่องจากภูมิต้านทานของแม่ผ่านรกไปยังทารกในครรภ์
การรักษา
ให้ยา PTU (propylthiouracil) เป็นยาต้านการทำงานของต่อมไทรอยด์
ภาวะไทรอยด์ทำงานน้อยกว่าปกติ (Hypothyroidism)
ความหมาย
Free T4 ต่ำ และระดับ TSH สูง
อาการและอาการแสดง
อาจมีภาวะคอพอก
ความอยากอาหารลดลง ท้องอืด ท้องผูก
ผิวหนังแห้งแตก หยาบ
หนาวง่าย ทนอากาศเย็นไม่ได้
เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เฉื่อยชา ขาดสมาธิ
ผมหยาบร่วง
น้ำหนักเพิ่ม หนังตาบวม
เสียงแหบ
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
มารดา
เกิดภาวะหัวใจวาย
แท้ง
ครรภ์เป็นพิษ
คลอดก่อนกำหนด
ทารก
ตายในครรภ์
น้ำหนักตัวน้อย
มีปัญหาด้านการพัฒนาสมอง ปัญญาอ่อน
การรักษา
ให้ฮอร์โมนไทรอยด์ T4 ทดแทน คือ Levothyroxine (elthoxin)
Thyroid storm
ความหมาย
การเพิ่มขึ้นของไทรอยด์ฮอร์โมนในปริมาณมากอย่างรวดเร็วซึ่งมีผลต่ออัตราการตายของมารดาและทารก ส่วนใหญ่จะเกิดตามหลังภาวะเครียด หรือมีสาเหตุกระตุ้น คือ
การติดเชื้อที่รุนแรง
diabetic ketoacidosis
ต่อมไทรอยด์ได้รับการผ่าตัดหรือถูกกระทบกระเทือน
ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บ
pulmonary thromboembolism
หยุดรับประทานยาต้านไทรอยด์ฮอร์โมน
การรับสารไอโอดีนโดยการรับประทาน ฉีดเข้าเส้นเลือด หรือ radiotherapy
รับประทานยา salicylates จะทำให้เกิด free thyroid hormones มากจนเกิดภาวะ thyroid crisis ขึ้นได้
อาการและอาการแสดง
ไข้
ท้องเสียหรืออาเจียน
เหงื่อออกมาก
อ่อนแรงอย่างรุนแรง
ชัก
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ตัวเหลืองตาเหลือง
ไม่รู้สึกตัว
ความดันต่ำมาก
การรักษา
PTU 600-800 mg ทันที จากนั้นให้ 1,200 mg/day (แบ่งให้ทุก 4-6 hr.) หาก NPO อาจใช้ methimazole สอดทวารหนัก 1,200 mg
รักษาภาวะหัวใจเต้นเร็วหรือความดันโลหิตสูงทำได้โดยให้ β-blockers ได้แก่ propranolol 1 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดจากนั้นให้ซ้ำได้ทุก 10-15 min จนคุมอาการได้
ให้ไอโอดีนเพื่อช่วยลดการหลั่งไทรอยด์ฮอร์โมนเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งควรให้ภายหลังเริ่มยา PTU ไปแล้ว 1 hr.
hydrocortisone 100 mg ฉีดเข้าเลือดทุก 8 hr. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะ adrenal insufficiency
กรณีรักษาไม่ได้ผลก็อาจใช้ plasmapheresis, plasma exchange หรือ hemodialysis ก็ได้เพื่อช่วยขับฮอร์โมนไทรอยด์ออกจากร่างกาย
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ทราบเกี่ยวกับโรค
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
แนะนำทานน้อยแต่บ่อยครั้ง 5-6มื้อ/วัน
ดื่มน้ำมากๆ
หลีกเลี่ยงชา กาแฟ แอลกอฮอล์
ระมัดระวังการเปลี่ยนอิริยาบถเพราะเหนื่อยได้ง่าย
แนะนำนับลูกดิ้น เพื่อประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ในระยะที่ 1 ของการคลอด จัดท่านอนศีรษะสูง (fowler's position)
V/S ทุก 1-2 hr. ถ้า PR > 100/min RR > 24/min pulse pressure กว้างกว่า 40 mmHg ให้สงสัยภาวะหัวใจล้มเหลว รีบรายงานแพทย์
ให้ผู้คลอดออกแรงเบ่งน้อยที่สุด เพราะการเบ่งจะทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น แพทย์มักใช้สูติหัตถการช่วยคลอด
ฟัง FHS ทุก 15-30 min และฟัง FHS ทุก 5 min ในระยะที่ 2 ของการคลอด
ระยะหลังคลอด
นอนพักบนเตียงในท่า semi-foeler's position
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
กรณีมารดาทาน PTU < 150 mg สามารถให้นมบุตรได้ แต่ยังคงต้องติดตามภาวะการทำงานของต่อมไทรอยด์ของทารก