Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ - Coggle Diagram
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ALL (Acute lymphoblastic leaukemia)
พบบ่อยที่สุดในเด็ก
พบมากในชวงอายุ 2-5 ปี
Leukemia
มะเร็งของระบบโลหิต
ไมสามารถ differentiate ไปเปนเซลล์ตัวแก่ได้
แบ่งเป็น 2ชนิด
B-celllymphoblasticleukemia ส่วนใหญ่พบชนิดนี้
T-celllymphoblasticleukemia
เมื่อมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็วและคุมไม่ได้ในไขกระดก(Bone marrow)
จึงมีเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อน (blast cell) เป็นจำนวนมาก ในไขกระดูก
ทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดง เกร็ดเลือดลดลง ผุ้ป่วยจึงมี
อาการซีด เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เลือดออกงาย ติ้ดเชื้อได้ง่าย
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL (Acute lymphoblastic leukemia )
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML (Acute myelogenous leukemia )
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML (Chronic myelogenous leukemia หรือ Chronic myeloid leukemia )
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL (Chronic lymphocytic leukemia หรือเรียกย่อว่า CLL)
Neuroblastoma
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า5 ปี
อาการนําที่มาพบแพทย์
มีก้อนในท้องท้องโต ปวดท้อง
พบก้อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes) มีไข้ ปวดกระดูก
มะเร็งไต Wilm Tumor
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการ เจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต ส่วนใหญ่จะมีขนาด ใหญ่และคลําได้ทางหน้าท้อง และมักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
จะไม่ให้คลำบ่อย เพราะอาจทําให้ก้อนแตก หรืออาจเกิดการแพร่กระจาย ของมะเร็ง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Chemotherapy
ระยะการรักษาเคมีบำบัด
ระยะชักนําให้โรคสงบ (induction phase)
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
ยาที่ใช้ได้แก่ Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or continuation therapy)