Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ระบบทางเดินอาหาร, image, image, image,…
บทที่ 6การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ระบบทางเดินอาหาร
อุจจาระร่วง (diarrhea)
ความหมายของอุจจาระร่วง
ถ่ายอุจจาระเป็นน ้า 3 ครั้งต่อวันหรือมากกว่า
ถ่ายเป็นน ้าปริมาณมากๆ จ านวนมากกว่า 1 ครั้งขึ้น
ไปใน 1วัน
ถ่ายมีมูก หรือมีมูกปนเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง
ชนิดของอุจจาระร่วง
• อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (acute diarrhea) อุจจาระร่วงเฉียบพลัน ใน 24ชม. หายไปภายใน 2 สัปดาห์
• อุจจาระร่วงยืดเยื้อ (persistent diarrhea) เกิดจากการติดเชื้อในล าไส้ นานเกิน 2 สัปดาห
• อุจจาระร่วงเรื้อรัง (chronic diarrhea) ถ่ายอุจจาระร่วงติดต่อกันทุกวัน นานมากกว่า 3 สัปดาห
สาเหตุ
การติดเชื้อ
1.1 เชื้อไวรัส ได้แก่ rotavirus พบบ่อยในอายุ 3เดือน ถึง 2 ปี
1.2 เชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ Salmonella Shigella
Campylobacter E. coli (พบมากสุด) Vibrio cholerae S. aureus Clostridium botulinum จากการปนเปื้อนสารพิษ
แพร่กระจายทางอุจจาระ-ปาก (fecal oral route)
2ขาดเอนไซน์และนำ้ย่อยแลคเตสย่อยแลคโตสในนมไม่ได้แลคโตสบกพร่อง (lactose malabsorption)
3การดูดซึมบกพร่อง
การจำแนกตามลักษณะอุจจาระ
1.1 Secretory diarrhea เป็นการเพิ่มปริมาณอุจจาระจากการสร้างการหลั่ง
น ้าและอิเลกโทรไลต์ของ intestinal mucosa เข้าสู่โพรงล าไส้ เช่น อาหารเป็นพิษ เชื้Vibrio cholerae
1.2.Osmotic diarrhea เชื้อโรคท าลายเยื่อบุล าไส้ที่สร้างเอนไซม์ย่อยน ้าตาล
โดยเฉพาะแลคโตส ท าให้น ้าตาลค้างในโพรงล าไส้ เกิดความดันออสโมติกสูงขึ้น มีการดึงน ้าเข้า
สู่โพรงลำไส้
อาการและอาการแสดง
ถ่ายอุจจาระเหลว
อาการขาดน ้า
2.1. ขาดน ้าระดับเล็กน้อย
2.2ขาดน ้าระดับปานกลาง
2.3. ขาดน ้าระดับรุนแรง
การรักษา
1รักษาภาวะขาดนนำ้
2 ระยะคงไว้ซึ่งความสมดุลของ
สารน ้าและเกลือแร่
3กำจัดเชื้อออกจากลำไส้
ภาวะอักเสบของกระเพาะอาหาร (Gastritis)
•Gastritis เป็นการอักเสบของเยื่อบุของกระเพาะอาหาร (mucosa of the stomach)
• สาเหตุการอักเสบเกิดจาก
Helicobacter pylori
•แบบเฉียบพลัน (acute
gastritis) และแบบเรื้อรัง (chronic gastritis)
สาเหตุ
การติดเชื้อ H. pylori
การรับประทานยา NSAID
ความเครียด (stress)
รับประทานอาหารรสจัด
การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา
อุบัติเหตุรุนแรง (severetrauma)
การรักษา acute gastritis
Histamine receptor antagonists : Ranitidin (Zantac) 100 mg qid,
Cimitidine (Tagamet) 300 mg qi
Antacids : Alum milk. 30 mg q 2 ชม. (ช่วยเพิ่ม pH)
กรณีกินไม่ได้ให้สารน ้าทดแทน มีเลือดออกให้เลือด คลื่นไส้อาเจียนให้งดอาหารและน ้าทางปาก
เมื่อดีขึ้นให้ กินอาหารเหลว
กรณีbleeding ให้ Lavage ใช้น ้าที่มีอุณหภูมิห้องหรือsaline
กรณีที่รุนแรงให้ Hormone : Vasopassin (Pitressin)
ใช้ laser therapy เพื่อหยุดการมีเลือดออกเฉพาะที่
7.หลีกเลี่ยงปัจจัยสนับสนุนการเกิดโรค เช่น การใช้ยา NSAID
การรักษา chronic gastritis
Bismuth Subsalicylate (colloidal bismuth) 2 tab qid x 2 wks.
Metronidazole 250 mg tid x 2 wks.
Tetracycline or Amoxacillin 500 mg qid x 2 wks.
ยากลุ่ม Antacid เพื่อลดอาการระคายเคืองจากกรด
ยากลุ่ม Vitamin เช่น Vitamin C เพื่อช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก
วิตามิน B12 (cyanocobalamin) 1 mg / ml ฉีดเพื่อรักษาภาวะซีด (pernicious
anemia)
โรคกระเพาะอาหารและลําไส้อักเสบ (Gastroenteritis)
• โรคที่เกิดจากความผิดปกติระบบทางเดินอาหารซึ่งเกิดจาก
เชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียไวรัสที่พบบ่อยที่สุด คือ ไวรัสโรต้า
อาการและอาการแสดง
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน คลื่นไส้อาเจียน
ปวดท้องอย่างรุนแรง
ไข้สูง ครั่นเนื้อครั่นตัว หนาวสั่น
การรักษา
รักษาตามอาการ เช่น รักษาภาวะขาดน ้า ให้ยาลดไข้
ในเด็กที่มีภูมิต้านทานต ่า ทารกแรกเกิดหรือเด็กมีภาวะSepticemia จ าเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ
ไส้เลื่อนกะบังลม(Diaphragmatie Hernia)
• อวัยวะในช่องท้องเลื่อนขึ้นไปอยู่ในช่องทรวงอก ผ่านรูโหว่
ในกะบังล• เกิดการกดเบียดปอดของทารกในครรภ์ที่ก าลัง
เจริญเติบโต เกิดภาวะปอดเจริญเติบโตไม่สมบูรณ• ท าให้ถุงลม surfactant ของถุงลมปอดลดลง หัวใจ
ห้องล่างซ้ายมีขนาดเล็กลง ท าให้แรงต้านของหลอดเลือดพัลโมนารี่ (pulmonary vascular
resistance) สูง กลายเป็น pulmonaryhypertension เกิดความดันโลหิตในปอดสูงเรื้อรัง
(persistent fetal circulation : PFC)
อาการและอาการแสดง
• ทารกแรกเกิดน ้าหนักน้อย หลังเกิดมีอาการหายใจ
ล าบาก (respiratory distress) หายใจเร็ว หอบ
• ตรวจร่างกาย พบอกป่ อง ท้องแฟบ (Scaphoid
abdomen) เสียงลมเข้าปอดข้างที่มีพยาธิสภาพเบา
• เวลาร้องแล้วตัวเขียวเพราะลมเข้ากระเพาะอาหารขยาย
กดปอด
• การวินิจฉัยโรค จากอาการและอาการแสดงทั่วไป การ
ตรวจร่างกาย การถ่ายภาพรังสีปอด และการอัลตรา
ซาวด์ช่วง 10 สัปดาห์แรกในครรภ์มารดา
การรักษา
1.1. ดูแลเรื่องอุณหภูมิกายต ่า การขาด
ออกซิเจน หรือร่างกายมีภาวะเป็นกรดร่วมถึง
ปัญหาอื่นๆ
1.2ใส่สายสวนกระเพาะอาหาร
1.3 ใส่ท่อช่วยหายใจ ให้ออกซิเจน
1.4 ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ให้โซเดียมไบคาร์บอน
เพื่อแก้ไขภาวะกรดจากการเผาผลาญ
1.5 ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในกระแสเลือด
เพื่อปรับแผนการรักษาการช่วยหายใจ
การผ่าตัด ผ่านทาง
ช่องท้องดึงอวัยวะใน
ช่องท้องกลับมา เย็บ
ซ่อมแซมกะบังลม
การดูแลหลังการผ่าตัดใช้เครื่ิงหายใจไประยะหนึ่งเพื่อป้องกันภาวะ PFC
ลำใส้กลืนกัน
• ล าไส้ส่วนต้นมุดตัวเข้าไปสู่ lumen ล าไส้ใหญ่ที่อยู่ถัดไป
ด้านปลาย ล าไส้แคบลงจนปิดสนิท ท าให้ทางเดินอาหารอุดกั้น
• ทางเดินอาหารส่วนต้นต่อจากที่อุดกั้นจะโป่ งพองจากการคั่ง
ของก๊าซ ของเหลว และเลือดที่ผนังล าไส้ ส่งผลให้เซลล์ที่เยื่อบุหลั่งมูกออกมาพร้อมกับเม็ดเลือดแดง
• พบบ่อยอายุ 4-8 เดือน พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
• ไม่ทราบสาเหตุ เชื่อว่าเกิดจากลักษณะทางกายวิภาคของล าไส้
ขาดการหมุนตัวตามปกติ ล าไส้ใหญ่ส่วนต้นเคลื่อนไหวมาก
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องแบบบิด (colicky) เด็กจะกรีดร้อง งอเข่า ยก
เท้าสูง ตัวเกร็ง 2. อาเจียนตลอด ช่วงแรกเป็นเศษอาหารต่อมาเป็นน ้าย่อยสี
น ้าดีปน
ถ่ายอุจจาระเป็นมูกปนเลือด เหมือนแยมหรือคล้ายเยลลี่
(mucous-bloody or Currant jelly stool)
คล าพบก้อนในช่องท้องเป็นก้อนโค้งยาวคล้ายไส้กรอกที่
ช่องท้องด้านบนขวา และคล าช่องท้องด้านขวาล่างว่าง 5. ซึม (lethargy) รู้สึกตัวลดลง มีไข้ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติ อาการและอาการแสดง ตรวจร่างกาย ถ่ายภาพรังสี สวน
แบเรียมทางทวารหนัก ท าอัลตราซาวนด์
การรักษา
การรักษาโดยไม่ผ่าตัด ท า hydrostatic
reduction โดยการสวนแบเรียมหรือ NSS เข้าทางทวารหนัก ดันให้
ล าไส้ให้หลุดออกจากกัน
ห้ามท าในผู้ป่ วยทางเดินอาหารแตกทะลุ หรือเยื่อบุช่องท้อง
อักเสบ ปัจจุบันใช้แรงดันอากาศ pneumatic reduction แทน
หลังการรักษาให้ NPO 12-18 ชม.ทารกถ่ายอุจจาระสี
เหลืองไม่มีเลือดปน ท้องอืดลดลง ฟังเสียงล าไส้ได้ สายสวนกระเพาะ
อาหารออกลดลง ไม่มีสีเขียว เริ่มให้ดื่มนมได
การรักษาโดยการผ่าตัด เปิดหน้าท้อง
แล้วใช้มือรูด (milking) จากด้านปลาย ดันส่วน
น าให้ถอยออกไปจนล าไส้หายกลืนกัน (manual
reduction)
ในกรณีที่ดันไม่ออกแพทย์มักพิจารณาตัด
ล าไส้ที่กลืนกันออกและเชื่อมต่อปลายล าไส้เข้าหา
กัน (resection with end to endanastomosis)
ลำไส้โป่งพองตั้งแต่กำเนิด(Hirschsprung's)
เกิดจากการขาดเซลล์ประสาทพาราซิมพาเธติกganglionic cells มาเลี้ยงล าไส้ใหญ่mesenteric ทางเดินอาหารบริเวณrectosigmoid colon ขาดการเคลื่อนไหวแบบperistalsis
ล าไส้ส่วนที่ไม่มีเซลล์ประสาทอุดกั้นทางเดินอาหาร
ส่งผลต่อการถ่ายอุจจาระ แต่ล าไส้ส่วนต้นยังท างานปกต
มีการเพิ่มการเคลื่อนไหวแบบ peristalsis มากขึ้น
ท าให้ล าไส้หนาตัวและโป่ งพอง
อาการและอาการแสดง
ถ่ายขี้เทาช้า หรือไม่ถ่ายขี้เทาหลัง
คลอด 24 ชม. ใช้สายยางสวนสีแดงขนาด Fr.
12-14 ทางรูทวารหนักดึงสายสวนออก พบขี้
เทาพร้อมผายลม
ถ่ายยาก อุจจาระมีก้อนเล็กแข็ง
ท้องผูก
อาเจียนมีสีน ้าดีปน
ท้องอืดมากๆจะดันกะบังลมสูง ท า
ให้เด็กหายใจล าบาก
การวินิจฉัยโรค
ประวัติ อาการและอาการแสดง และการ
ตรวจร่างกาย
barium enema
ตัดชิ้นเนื้อ rectum ไปตรวจ
การวัดความดันและการเคลื่อนไหวของล าไส้
ภาวะแทรกซ้อนก่อนผ่าตัด
ล าไส้อักเสบ (enterocolitis)
การแตกทะลุ (perforation) ของล าไส้
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การรักษา
การผ่าตัดเอาล าไส้ใหญ่มาเปิ ด
ทหี่ น้าทอ้ง (colostomy)
การผ่าตัดเพอื่ การรักษา
(definitive procedure)
การรักษาประคับประคองสวน
ล้างล าไส้ด้วย normal saline
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
1 : มีภาวะท้องอืด ท้องผูก จากการอุดตันของล าไส 2 : มีโอกาสเกิดภาวะล าไส้อักเสบ จากการอุดกั้นของล าไส้และความ
ต้านทานของผนังล าไส้ลดลง
3 : มีโอกาสล าไส้แตกทะลุ จากการที่ล าไส้มีการขยายมาก
4 : มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังจากการผ่าตัดรักษา เช่น การติดเชื้อใน
ช่องท้อง การติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน
5 : บิดามารดาอาจเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด และการปฏิบัติ
ตัวหลังผ่าตัด
ความพิการของผนังหน้าท้องแต่กําเนิด
(Omphalocele)
•Omphalocele เป็นความผิดรูปแต่
ก าเนิดของผนังหน้าท้อง มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ไม่มีกล้ามเนื้อหน้า
ท้อง และผิวหนัง มีเพียงเยื่อบุช่องท้อง และเยื่อ amnion
เป็นผนังคล้ายถุงคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมานอกช่องท้อง
• สายสะดือจะติดอยู่กับถุ
อาการและอาการแสดง
ทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง
กลางท้อง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 - 10 ซม.ลักษณะเป็นรูปโดม ผนังบางมองเห็นอวัยวะ
ภายใน มีสายสะดือติดอยู่กับถุง มักมีความพิการพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง ประมาณ
ครึ่งหนึ่งเป็นทารกแรกเกิดน ้าหนักตัวน้อยดูลักษณะถุง วินิจฉัยได้ตั้งแต่ทารกยังอยู่ในครรภ