Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปวดไหล่ - Coggle Diagram
ปวดไหล่
สาเหตุที่พบบ่าย
ระยะเวลาที่เริ่มมีอาหาร
< 6 สัปดาห์
Acute Rotator cuff tears / เส้นเอ็นไหล่ฉีกขาด
คือ
เส้นเอ็นไหล่ ประกอบกันเป็นแผงโอบหุ้มข้อไหล่ ทำหน้าที่ให้ความมั่นคงกับข้อไหล่และเป็นแกนหมุนและยกหัวไหล่
สาเหตุ
อุบัติเหตุ เช่น ล้มลงขณะที่แขนเหยียดเท้าพื้น หรือไหล่แขนกระแทกแล้วมีการหดตัวของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นอย่างรุนแรง
ความเสื่อมของเส้นเอ็น กลุ่มนี้พบได้บ่อยกว่า เกิดจากการใช้งานมานาน ๆ และอายุที่มากขึ้น
อาการ
ปวดเวลานอน โดยเฉพาะตอนนอนตะแคงทับ
อ่อนแรงในขณะยกหรือหมุนหัวไหล่
เสียงเสียดสีในขณะขยับบางท่าของไหล่
ปวดเวลายกแขนขึ้นหรือลงในบางท่า
Shoulder dislocation / ข้อไหล่เคลื่อน
อาการ
ปวดไหล่มาก
คลำได้หัวของกระดูกต้นแขนปูดออกมาทางด้านหน้าหรือข้างในรักแร้
รู้สึกว่าไหล่ตก ต้องใช้มืออีกข้างหนึ่งรับน้ำหนักแขนไว้
ไหล่ดูผิดรูป
อาการชาหรือเป็นเหน็บที่แขนข้างนั้น
สาเหตุ
บาดเจ็บที่รุนแรงจนโครงสร้างข้อไหล่ไม่มั่นคง ขณะยกแขนสูงกว่าระดับไหล่
การรักษาขั้นต้น
การรักษาขั้นต้นคือการบริหารกล้ามเนื้อรอบหัวไหล่ให้แข็งแรงขึ้น ถ้ายังหลุดอยู่อีกก็จำเป็นต้องผ่าตัดเพื่อซ่อมขอบกระดูกอ่อนลาบรัม แคปซูลหุ้มข้อ หรือเสริมกระดูกส่วนที่แตก
Labral tear / กระดูกอ่อนลาบรัมฉีกขาด
คือ
ลาบรัมของข้อไหล่เป็นกระดูกอ่อนที่บุอยู่ตามขอบของเบ้าไหล่ เพื่อป้องกันการเสียดสีของหัวกระดูกต้นแขนกับขอบของเบ้าเวลาที่เราหมุนหัวไหล่
สาเหตุ
การตกโดยเอาหัวไหล่ลง
การยกของหนักมาก ๆ ขึ้นอย่างรวดเร็ว
การตกลงบนแขนที่เหยียดตรง
ใช้งานแขนในลักษณะที่ต้องยกขึ้นเหนือศีรษะบ่อย ๆ เช่น นักกีฬายกน้ำหนัก นักขว้างลูกเบสบอล
อาการ
อาการปวดไหล่เวลายกแขนขึ้นเหนือศีรษะ
อาจมีเสียงคลิกหรือมีไหล่ติดขณะขยับ
6-12 สัปดาห์
Biceps tendinitis / เส้นเอ็นของกล้ามเนื้อ Biceps
โรคนี้มักเป็นในหญิงมากกว่าชาย และในคนที่อยู่ในวัยทำงาน 35-75 ปี
สาเหตุ
มักเกิดจากการใช้กล้ามเนื้องอแขนรุนแรง หรือหักโหมเกินไป
เช่น การเล่นกล้าม การยกน้ำหนัก (ท่างอแขน) การเล่นบาร์คู่ บาร์เดี่ยว เป็นต้น
อาการ
โดยทั่วไปมักค่อยๆเกิด โดยปวดมากขึ้นๆ และใช้ไหล่ได้น้อยลงๆ
อาการเจ็บปวดมักจะเสียวร้าวลงมายังแขนส่วนล่าง ถ้าเป็นเรื้อรัง อาการปวดอาจหายไป เหลือแต่อาการไหล่ติด
Adhesive capsulitis / Frozen shoulder / ภาวะไหล่ติด
พบบ่อยในคน อายุ 40 - 60 ปี
อาการ
ปวดและเคลื่อนไหวข้อไหล่ได้ลำบาก
อาการของโรคแบ่งได้เป็น 3 ระยะคือ
ระยะติด (frozen stage) เป็นระยะที่อาการปวดค่อย ๆ ดีขึ้นอย่างช้า ๆ แต่ข้อติดไปแล้ว ทำให้ขยับไม่สะดวก ระยะนี้กินเวลาอีกประมาณ 4-12 เดือน พอเริ่มหายปวดควรค่อย ๆ เริ่มออกกำลังทำกายภาพหัวไหล่ดังรูป
ระยะหาย (thawing stage) เป็นระยะที่การเคลื่อนไหวของข้อค่อย ๆ กลับมาเป็นปกติ ใช้เวลาอีกประมาณ 1-2 ปี
ระยะปวด (freezing stage) เป็นระยะที่มีอาการปวดไหล่เวลาขยับ ผู้ป่วยจะเริ่มไม่ขยับหัวไหล่และใช้งานแขนข้างนั้นน้อยลงเนื่องจากเจ็บ ระยะนี้กินเวลาประมาณ 2-9 เดือน ระยะนี้ควรประคบเย็นประมาณ 15-20 นาทีเมื่อมีอาการปวดและบวม หรืออาจทานยาแก้อักเสบเพื่อบรรเทาอาการปวด
เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของเยื่อหุ้มไหล่ ทำให้มีการหนาตัวและเกิดการหดรั้ง
ซึ่งอาจจะไม่ทราบ หรือ สาเหตุพบจากการบาดเจ็บจึงทำให้เกิดการจำกัดการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ เช่น มีกระดูกปลายแขนหักใส่เฝือกนาน 4 - 6 สัปดาห์ หรือผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บของเอ็นกล้ามไหล่โดยมีอาการปวดจนต้องหยุดการใช้งาน
Rotator cuff syndrome / เส้นเอ็นข้อไหล่
เส้นเอ็นข้อไหล่คือ เส้นเอ็นขนาดเล็ก 4 เส้นที่อยู่บริเวณรอบข้อไหล่ เส้นเอ็นกลุ่มนี้เป็นส่วนที่ต่อเนื่องมาจากกล้ามเนื้อสะบักทอดผ่าน ข้อไหล่และยึดเกาะกับ ส่วนบนของกระดูกต้นแขน ทำหน้าที่ช่วยในการขยับไหล่ เช่นกางแขน ยกแขน หมุนไหล่
อาการ
ปวดไหล่โดยเฉพาะเวลายกหรือขยับไหล่ อาจมีอาการปวดร้าวลงไปบริเวณต้นแขนได้
สุดท้ายพิสัยการเคลื่อนไหวจะลดลง และทำกิจกรรมบางอย่างลำบากเช่นสระผม หวผีม เกาหลังติดกระดุม
อาจปวดตอนกลางคืนหรือปวดตอนพักได้
รู้สึกแขนล้าและไม่มีแรง
พบบ่อยในอายุ 35-75 ปี
สาเหตุ
การยกแขนขึ้นจนสุดแล้วเหวี่ยงไปข้างหน้า จะทำให้เอ็นเส้นนี้ถูไปกับกระดูกมากขึ้น จนได้รับบาดเจ็บ (อักเสบ) อาจเกิดการถลอก หรืออาจถึงขั้นฉีกขาด
ถุงน้ำอักเสบ (Subacromial bursitis)
คือ ถุงน้ำที่หัวไหล่ช่วยให้กลุ่มกล้ามเนื้อและเอ็นที่รู้จักกันในชื่อ rotator cuff สามารถทำงานได้ดี
อาการ
บวมและปวดมาก ยกแขนขึ้นหวีผมไม่ได้ ใส่เสื้อยึดไม่ได้ ถ้าเอามือบีบที่หัวไหล่จะปวดมาก
ภาวะที่ถุงน้ำอักเสบไปพร้อม ๆ กับ เส้นเอ็น Rotator cuff
12 สัปดาห์
shoulder osteoarthritis / ข้อไหล่เสื่อม
ภาวะที่กระดูกอ่อนของข้อซึ่งจะปกคลุมทั้งในส่วนของหัวกระดูกและเบ้าเกิดการเสื่อมเสียหาย ทำให้ช่องว่างในข้อแคบลง จนในที่สุดกระดูกทั้งสองด้านก็จะมาเสียดสีกัน และเกิดกระดูกงอกขึ้นรอบๆ ข้อ
ส่วนใหญ่พบในคนไข้อายุ > 60 ปี ที่เคยใช้งานข้อไหล่หนักมาก่อน
สาเหตุ
เป็นข้อไหล่เสื่อมตามอายุการใช้งาน
ภาวะข้ออักเสบชนิดต่างๆ เช่น รูมาตอย์, โรคเกาท์, โรคลูบัส
ภาวการณ์บาดเจ็บต่อข้อไหล่
กรณีที่เอ็นหมุนรอบข้อไหล่ (Rotator Cuff) ฉีกขาดรุนแรงเป็นเวลานาน
อาการ
อาการปวดเวลาเคลื่อนไหวข้อไหล่
เคลื่อนไหวข้อได้ลดลง หรือไหล่ติดยึด
กล้ามเนื้อโดยรอบก็จะลีบและอ่อนแรง
มีเสียงในข้อเวลาเคลื่อนไหว
คำถามก่อนพบแพทย์
เริ่มมีอาการเมื่อไหร่
ชั่วโมง/วัน/เดือน/ปี
ระดับความปวดไหล่
คะแนนเต็ม 10 ได้___คะแนน
โรคประจำตัว
คือ
มีอาการร่วม
ไข้
น้ำหนักลด
ผื่น
เบื่ออาหาร
ไอ เจ็บคอ
บวมแดงร้อน ไหล่
ปวดตำเเหน่งอื่น
ปวดเวลาตื่นนอนกลางคืน
เเพ้ยา เเพ้อาหาร
คือ
มีไหล่ติด ขยับลำบาก
มี
ไม่มี
รู้สึกไหล่หลวม ไม่มั่นคง
อุบัติเหตุ / บาดเจ็บไหล่ก่อน
วัน/เดือน/ปี
ผ่าตัด
ปวดเวลาใช้งาน
อ่อนแรงแขน ที่ปวดไหล่
มี
ไม่มี
การรักษาเบื้องต้น
พักการใช้งาน หลีกเลี่ยงยกของหนัก ท่าทางต้องเอื้อมของสูงหนือศีษะ
บริหารข้อไหล่สม่ำเสมอ เพิ่มพิสัย และ ความเเข็งแรงกล้ามเนื้อ
กายภาพบำบัด
ประคบเย็น
ลดการอักเสบ
ถุงน้ำเเข็งห่อผ้าขนหนู / แผ่นเจลเย็น 10-15 นาที วันละ 3-5 ครั้ง
ประคบร้อน
ลดปวด ลดการตึงตัวของกลางเนื้อ เนื้อเยื่อหัวไหล่
ผ้าชุบน้ำอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน 10-15 นาที ใช้หลังอาการอักเสบหายดี
เเพทย์เฉพาะทาง
การนัดหมาย
ข้อมูลแพทย์