1.ดูแลให้รับประทานอาหารจำกัดเกลือ เพื่อลดการคั่งของเกลือที่จะทำ
2.ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เน้นโปรตีนคุณภาพ เพื่อเพิ่มโปรตีนในเลือด
ให้เกิดอาการบวม
3.ประเมินอาการบวมและการรมีน้ำเกินในร่างกายโดย - สังเกตอาการบวมตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
4. ชั่งน้ำหนักตัววันละครั้งก่อนรับประทานอาหาร เพื่อประเมินภาวะบวม (ควรเป็นช่วงเวลาเดียวกันทุกวัน)
- บันทึกสารน้ำเข้า-ออก เพื่อประเมินภาวะน้ำเกิน
- วัดรอบท้องในรายที่มีน้ำในเยื่อบุช่องท้อง
5.ในกรณีที่ผู้ป่วยมีน้ำในช่องท้องมาก ควรดูแลดังนี้ - จัดท่านอนศีรษะสูง เพื่อให้ปอดขยายตัว
- พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันแผลกดทับ
- ดูแลทำความสะอาดผิวและทาครีม เพื่อป้องกันผิวแตก
- สังเกตอาการเหนื่อยหอบ ถ้าเหนื่อยดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ตัดเล็บให้สั้น สะอาด และแนะนำไม่ให้แกะเกาแผล
7.ดูแลให้ได้รับอัลบูมินทางหลอดเลือดดำ + ยาขับปัสสาวะ ตามแผนการรักษาของแพทย์
8.ดูแลให้ได้รับประทานยาสเตียรอยด์ตามแผนการรักษาของแพทย์ โดยแนะนำให้รับประทานหลังอาหารทันทีและให้ดื่มน้ำตามมากๆ