Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน - Coggle Diagram
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
การรักษา
GDM Class 1
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในปกติโดยควบคุมอาหาร
พลังงานที่ร่างกายต้องการแต่ละวัน มีค่าเท่ากับ 30kgcal/kg/วันของน้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์
GDM Class 2
ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติโดยการควบคุมอาหารเพียงอย่างเดียวจำเป็นให้การรักษาด้วยการฉีดยาอินสุลิน
สาเหตุ
ระหว่างตั้งครรภ์จะผลิตฮอร์โมนหลายชนิดเข้าไปในกระแสเลือดและขัดขวางการทำหน้าที่ของอินซูลิน ตับอ่อนจึงต้องผลิตมากกว่าปกติเพื่อชดเชย ถ้าตับอ่อนไม่สามารถผลิตเพิ่มขึ้นตามความต้องการจะทำให้มีระดับ glucose taterance test ผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
จำเเนกประเภทของเบาหวาน
1.เบาหวานก่อนตั้งครรภ์(pregestational diabetes mellitus or overt DM
การพยาบาล
ในระยะหลังคลอด
การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา สามารถให้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ในรายที่มีอาการไม่รุนแรง ความต้องการอินซูลินอาจลดลงขณะให้นมบุตร
การดูแลผู้คลอดที่ได้รับอินซูลิน ต้องสังเกตอาการที่เกี่ยวกับผลการออกฤทธิ์เนื่องจากความต้องการของอินซูลินเปลี่ยนแปลงมากทันทีหลังคลอดต้องระวังการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ป้องกันอัตรายจากภาวะแทรกซ้อนเช่น ตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกถูกยืดขยายมากขณะตั้งครรภ์ทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ความดันโลหิตสูง ถ้าพบต้องรายงานแพทย์เพื่อให้การรักษา
แนะนำให้รับประทานอาหารให้ตรงเวลา รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย เพิ่มพลังงานในการดูแลบุตร แต่ไม่ควรรับประทานมากเกินไปจะทำให้คุมโรคเบาหวานไม่ดี
วางแผนครอบครัวโดยอธิบายถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ ภาวะแทรกซ้อนเพื่อช่วยให้ตัดสินใจเกี่ยวกับการมีบุตรคนต่อไปดีขึ้น
การคุมกำเนิดชั่วคราว
ไม่ควรใช้ยาคุมกำเนิดชนิดรับประทานที่เป็น combinded pill ที่ประกอบด้วยเอสโตรดจนและโประเจสเทอโรนเพราะมีผลกระทบต่อการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ควรใช้ยารับประทานโปรเจสเทอโรนอย่างเดียว(ชนิด low dose ขนาดประมาณ 0.35 mg การใส่ห่วงอนามัยไม่เหมาะสมเพราะจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้บ่อย
Type 1 ภูมิต้านทานของตนเองทำลายเบต้าเซลล์ของตับอ่อน ทำให้เบต้าเซลล์ไม่สร้างอินซูลิน จึงต้องให้อินซูลิน
Type 2 ร่างกายต่อต้านการใช้อินซูลินและมีการพร่องอินซูลิน(สร้างน้อย) สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรม ไม่ต้องการรักษาด้วยอินซูลินแต่รักษาด้วยการออกกำลังกายและควบคุมอาหาร
2.เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational diabetes mellitus : GDM หรือType III)
ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้ได้ ทำให้น้ำตาลเหลืออยู่ในกระแสเลือดมากกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง
1.ปัสสาวะมาก(Polyuria)พบถ่ายปัสสาวะมากทั้งกลางวันและกลางคืน
2.ดื่มน้ำมาก(polydipsia)เนื่องจากถ่ายปัสสาวะมากทำให้กระหายและดื่มมาก
3.รับประทานอาหารจุ(polyphagia)เนื่องจากร่างกายใช้คาร์โบไฮเดรตไม่ได้ทั้งๆที่ร่างกายต้องการ
4.น้ำหนักลด (weight loos) เนื่องจากร่างกายใช้ไขมันและโปรตีนที่สะสมในร่างกายสร้างพลังงานแทนคาร์โบไฮเดรต ทำให้ผอมลง มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย คันตามตัว มีการติดเชื้อง่าย
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน
ต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
1.การแท้งบุตร (abortion)
2.การติดเชื้อ (infection)
ครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Pre-eclampia และ eclampsia)
หลอดเลือดถูกทำลาย (Vascular damage)
การคลอดยาก (Dystocia)
7.อัตราตายของมารดา (Maternal mortality)
8.รายที่มีอาการรุนแรงและได้รับการรักษาไม่ทัน ทำให้มีอาการของโรคไตและมีภาวะไตวาย
9.มีความวิตกกังวลและความกลัวทั้งอันตรายที่จะเกิดต่อตนเองและทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
1.ความพิการแต่กำเนิด (congenital malformations)
2.ทารกเสียชีวิตในครรภ์
3.ทารกในครรภ์มีขนาดใหญ่กว่าปกติ (fetal macrosomia)
ในระยะหลังคลอด ผลต่อทารกแรกเกิด
1.ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Neonatal hypoglycemia)
ภาวะเลือดข้นและหนืดมากเกินไป (Polycythemia and hyperviscosity)
3.ภาวะตัวเหลืองหลังคลอด (hyperbilirubinemia)
4.ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (hypocalcemia)
ภาวะหายใจลำบาก (respiratory distress syndrome)
การตรวจคัดกรองและการวินิจฉัย
กลุ่มเป้าหมายสำหรับการตรวจคัดกรอง
1.ตรวจคัดกรองทุกรายในสตรีทุกรายที่มาฝากครรภ์ ตรวจหาน้ำตาลกลูโคสในปัสสาวะ โดยใช้ Urine strip
2.ตรวจสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน พิจารณาจากผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง
1.อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป
2.ภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์หรืออ้วน BMI = 27กก/ม2 ขึ้นไป
3.มีประวัติเคยมีภาวะเบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์ เมื่อครรภ์ก่อน
4.ให้ประวัติว่าปัสสาวะมาก กระหายน้ำมาก หิวบ่อย กินจุ อ่อนเพลีย เป็นอาการแสดงของการเป็นเบาหวาน
5.ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ
6.มีภาวะความดันโลหิตสูง BPมากกว่าหรือเท่ากับ140/90 mmHg
7.มีประวัติคนในครอบครัวเป็นเบาหวาน โดยเฉพาะบิดาและมารดา
8.การตั้งครรภ์ก่อนๆ มีประวัติของการแท้งเอง ทารกตายคลอดและการตั้งครรภ์แฝดน้ำ
9.เคยมีประวัติคลิดทารกมีลักษณะตัวโตกว่าอายุครรภ์(LGA) ทารกตัวโต(น้ำหนักแรกเกิด>4000 กรัม)
10.เคยคลอดทารกมีความพิการแต่กำเนิด
วิธีตรวจคัดกรอง
1.การตรวจแบบหนึ่งขั้นตอน
ไม่ใช้วิธีการตรวจคัดกรองแต่ใช้การวินิจฉัยโดยตรง ต้องได้รับคำแนะนำให้เตรียมตัวก่อนโดยงดอาหารและน้ำดื่ม อย่างน้อย8ชั่วโมง
2.การตรวจแบบสองขั้นตอน
ตรวจคัดกรองเป็นขั้นตอนแรกและตรวจนินิจฉัยเพิ่มเติมเฉพาะรายที่มีผลคัดกรองผิดปกติเท่านั้น
โรคเบาหวาน (diabetes mellitus) หมายถึงภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงที่เกิดขึ้นเนื่องจากร่างกายมีการสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้ไม่เพียงพอหรือร่างกายมีภาวะดื้อต่ออินซูลิน (American Diabetes Association, 2015)