Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thalassemia, image, image, image, นางสาวปิยะดา ปัญญาดี รหัสนิสิต…
Thalassemia
อาการและอาการแสดง
- เม็ดเลือดแดงแตกเรื้อรัง
- โพรงกระดูกขยายตัว
- ตับม้ามโต
- การเจริญเติบโตช้า
- ผิวหนังสีเทาอมเขียว
- หัวใจโต
- Hemolysis crisis
- ภาวะแทรกซ้อน
ความรุนแรงของโรค
- ชนิดรุนแรง (Thalassemia Major)
- ชนิดรุนแรงปานกลาง (Thalassemia Intermedia)
- ชนิดรุนแรงน้อย (Thalassemia Minor)
พยาธิสภาพ
- อัลฟาธาลัสซีเมีย (∞ -Thalassemia)
- เบต้าธาลัสซีเมีย (ß -Thalassemia)
การวินิจฉัยโรค
- ประวัติและการตรวจร่างกาย
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- การตรวจวินิจฉัยทารกก่อนคลอด
การรักษา
- การให้เลือด ควรให้ PRC หรือ เม็ดเลือดแดงเข้มข้นที่แยกเม็ดเลือดขาวออก (Leukocyte poor red cell; LPRC)
- การให้ยาขับเหล็ก ได้แก่ desferrioxamine(desferal) ให้ scหรือกิน Deferiprone (ปัสสาวะจะมีสีน้ําตาลแดง)
- การปลูกถ่ายไขกระดูก จะช่วยให้หายอึดอัดท้อง ผ่าเมื่อม้ามโต > 6 ซม. เพื่อลด อัตราการให้เลือด แต่ข้อเสียทําให้ติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะเด็กอายุน้อยกว่า 4ปี
- การให้คําปรึกษาทางพันธุ์ศาสตร์ (ก่อนตั้งครรภ์)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากมีภาวะซีดจากมีการแตกของเม็ดเลือด แดง
- เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเรื้อรังทําให้กระบวนการสร้างภูมิ ต้านทานของร่างกายลดลง และการทํางานของม้ามในการกําจัดเชื้อโรคลดลง
- มีภาวะเหล็กเกินเนื่องจากมีการแตกของเม็ดเลือดแดง การได้รับเลือดบ่อยและลําไส้ มีการดูดซึมธาตุเหล็กมากขึ้น ทําให้เหล็กไปจับตามอวัยวะต่างๆ ประสิทธิภาพการ ทํางานลดลง
- เด็กและญาติมีความเครียด วิตกกังวล เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังขาดความรู้เกี่ยวกับ การดูแลตนเอง และมีการเปลี่ยนแปลงของภาพลักษณ์
การพยาบาล
- ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ต่อการสร้างเม็ดเลือด เช่น โปรตีน วิตามินซี และ อาหารที่มีโฟเลตสูงมีมากในผักต่าง ๆ และผลไม้ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
- สอนผู้ป่วยเด็กและครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ได้แก่ การ รักษาความสะอาดร่างกาย ปากฟัน และสิ่งแวดล้อม
- ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีแคลเซี่ยม ได้แก่ นม ปลาเล็กปลาน้อย และ ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ เลือกกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อป้องกันกระดูกหัก
- ดูแลการได้รับยา Folic acid เพื่อช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง
- ภายหลังได้รับยาขับเหล็กให้สังเกตลักษณะสีของปัสสาวะจะน้ําตาลแดง
โรคโลหิตจาง กรรมพันธุ์ ที่เกิดจากความผิดปกติของ ยีนโกลบินในการ สังเคราะห์สายโกลบินทําให้สังเคราะห์โกลบินโปรตนีได้น้อยกว่าปกติหรือ สังเคราะห์ ไม่ได้เลย
ถ้ามีglobingeneผิดปกติแต่ยังสังเคราะห์สายโกลบินได้ปริมาณเท่าเดิมไม่จัดว่า เป็นธาลัสซีเมีย
-
-
-
-