Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลเจริญผิดปกติ, นางสาวน้ำฝน เกิดขาว เลขที่ 37…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลเจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
(acute lymphoblastic leaukemia
เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก
พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
Leukemia
มะเร็งของระบบโลหิต เกิดจากความผิดปกติของเซลลล์ตันกำเนิด(Stem cell) ที่อยู่ในใขกระดูกเกิดการแบ่งที่ผิดปกติ ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
ส่งผลให้จำานวนม็ดเลือดขาวตัวอ่อนมีจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ววร่างกาย ทำให้กรสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง ผู้ป่วยจึงมีอาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
แบ่งได้ 2 ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
cell
cell ที่ผิดปกติจะถูกปล่อยออกมาในกระแสเลือดในรูปของ Blast cell ซึ่งเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อน
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน ชนิด ALLพบได้ทุกช่วงอายุ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML พบในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก และพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLLพบบ่อยในผู้ใหญ่ และมีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML พบได้น้อย พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ในผู้ป่วยเด็กนั้นประมาณ 80% มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
สาเหตของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ด้านพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ชินโดรม (Down's syndrome)
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
ในฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL โดยเฉพาะเมื่อเป็นโรคตั้งแต่อายุยังน้อย
ด้านสั่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสี่ไออนในซ์ (lonizing radiation)
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด โดยเฉพาะสารเบนซิน สารฟอร์มาลดีโฮด์
อาจเกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ เช่น ควันบุรี่ หรือ การสูบบุหรี่
อาการ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
ติดเชื้อง่าย มีไข้ เนื่องจากมีเม็ดเลือดขาวปริมาณมากแต่ทำหน้าที่ไม่ได้ต่อสู้เชื้อโรคไม่ได้
เลือดออกง่าย เพราะมะเร็งเม็ดเลือดขาวจะมีเกร็ดเลือดต่ำ
มีก้อนตามร่างกาย เนื่องจากเดเลือดขาวไปเบียดบังอวัยวะต่างๆ หรือไปสะสมตามอวัยวะต่างๆ
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell.
ทำการยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted เพื่อดูให้ชัดเจนอีกครั้งว่ามีการแบ่งตัวที่ผิดปกติในไขกระดุกจริงหรือ
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง Lymphoma
ประกอบประด้วยอวัยวะที่เกี่ยวกับน้ำเหลือง
ม้าม,ไขกระดูก, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ (Cervical Lympnode)
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน
ต่อมน้ำเหลืองจะโตมาเป็นปี ไม่มีอาการเจ็บปวด พบ Reed-Stemberg cell
อาการจะเร็วและรุนแรง มักมา รพ. เมื่อมีการกระจายไปทั่วร่างกาย อาจมีก้อน
ที่ช่องท้อง ช่องอก หรือระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell (B lymphocyte) มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ
มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก มักพบเฉพาะที่ เช่น ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
การวินิจฉัย
การตรวจกระดูก (Bone scan)
การตัดชั่นเนื้อเพื่อครวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
การตรวจไขกระดูก เพื่อประเมินว่ามีกรกระจายเข้าไปในไขกระดูกหรือไม่
เอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan)
เอกซ์เรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจ PET scan ตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เพื่อหาเซลล์มะเร็ง
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย
คลำพบก้อนที่บริเวณต่างๆ เช่น คอ รักแร้ ขาหนีบ เต้านม
คลำก้อน ไม่มีอาการเจ็บ
อาการติดเชื้อ มักเจ็บบริเวณก้อน
ไอเรื่อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อมทอนซิลโต
มีใข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหต
ปวดศีรษ ะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย เช่น จุดเลือดออกตามตัว
รายที่เกิดขึ้นภายในช่องท้อง ผู้ป่วยจะมีอากาแน่นท้อง หรืออาหารไม่อย ท้องโตขึ้นจากการมีน้ำในช่องท้อง
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด(Transplantation) จำพวกฝาแฝดกัน
การใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี (Radiation Therapy) คือ การรักษาด้วยรังสีปริมาณสูง เพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง
มะเร็งไต
Wilm Tumor หรือ Nephroblastoma
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
ส่วนใหญ่มีขนาดใหญ่ และคสำได้ที่หน้าท้อง และมักจะเป็นที่ด้านใดด้านหนึ่ง
ไม่ให้คลำบ่อย เพราะอาจทำให้ก้อนแตก หรืออาจเกิดการแพร่กระจายของมะเร็ง
Neuroblastoma
เนื้องอกชนิตร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายน้อยกว่า 5 ปี
ต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท (Neural crest) สามารถเกิดบริเวณใดก็ใด้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
มีก่อนในช่องท้อง ท้องโต ปวดท้อง
ตาโปนมีรอยช้ำขอบตา (raccoon eyes)
ไข้
ปวดกระดูก
ตำแหน่งที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุด คือ ต่อมหมวกไต
การตอบสนองต่อการรักษาจะไม่ดี มีอัตราการตายสูง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Chemotherapy
ระยะการรักษาเคมีบำบัด
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
ยาที่ใช้ Vincristine, Adriamycin, L-Asparaginase และ Glucocorticoid
ไขกระดูกสามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ตามปกติ
การให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุดอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุดใช้เวลา 4-6 สัปดาห์
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
ใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
การให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะโรคสงบแล้วเพื่อให้ยาทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด
ยาที่ใช้ Metrotrexate, 6-MP และ Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง(CNS prophylaxis phase)
ยาที่ใช้ Metrotrexate, Hydrocortisone และ ARA-C
การให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
ผู้ป่วยหลังการให้ยา มักมีโอกาสกลับเป็นโรคอีกครั้ง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีจำนวนเกร็ดเลือดต่ำ ตับม้ามโต
ระยะควบคุมโรคสงบ
(maintenance phase or continuation therapy
การให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่นิยมใช้ คือ การให้ 6-MP
โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
การให้เลือด เพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล. ในระยะแรกก่อนโรค
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
หากผู้ป่วยมีเลือดออกจากจำนวนเกร็ดเลือดต่ำ จำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อนการให้ยา
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal (IT)
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดต่ำ vein ต้องระวังการรั่วของยาออกนอกหลอดเลือด
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Cyclophosphamide และ Ifosfamide รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
โดยออกฤทธิ์จับหรือรวมตัวกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง (Cross link)
ส่งผลทำให้เพิ่มจำนวนไม่ได้
Methotrexate รักษามะเร็ง Acute leukemia โดยยับยั้งการสร้าง DNA
และ RNAและมีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ยาตัวนี้มักจะเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตับ แพทย์จะติดตามค่า Liver function Test และภาวะแทรกซ้อนที่ไต Acute renal failure(ARF) แผนการรักษาจึงจำเป็นต้องติดตามการทำงานของไต BUN Cr.
Mercaptopurine(6-MP) รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันโดย
ยับยั้งการสร้าง Purineยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิกของ cell มะเร็ง
ยาตัวนี้ ผู้ป่วยจะได้รับกลับไปรับประทานต่อที่บ้าน
L-asparaginase เป็นยารักษาโรคมะเร็ง ALL ที่มีโอกาสเกิดการแพ้ยาสูงมาก Anaphylaxis จึงต้อง Test dose ก่อนให้ยา นอกจากนี้ยายังมีผลต่อตับอ่อนในการรั่ง Insulin มีผลให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น แพทย์จึงมีแผนการรักษา
ให้ตรวจดูน้ำตาลในปัสสาวะ
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบําบัด
คือ การเกิดการรั่วซึมของยาเคมี บําบัดออกนอกหลอดเลือด (Extravasation of Cytotoxic agent ) เด็ก จะมีอาการ ปวด แสบร้อน บวม มีการทําลายเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆเส้นเลือด การทําลายเนื้อเยื่อจะรุนแรงมากน้อย ขึ้นกับชนิด และความเข้มข้น ของยาเคมีบําบัด และปริมาณยาที่รั่ว
การดูแลคือการปะคบเย็น ครั้งละประมาณ 20 นาที ทําซ้ำอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง ในช่วง 1-2 วันแรก หรือตามแผนการรักษาของแพทย์
Ondasetron(onsia) ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน ในผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบําบัด
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจาก ผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
นางสาวน้ำฝน เกิดขาว เลขที่ 37 รุ่น 37 รหัส 62111301039