Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา เซลเจริญผิดปกติ, น.ส.ประภัสสร สำเภาทอง เลขที่…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
เซลเจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
(acute lymphoblastic leaukemia
เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก
พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
ความหมาย
Leukemia
มะเร็งของระบบโลหิต
เกิดจากความผิดปกติของ
เซลล์ต้นกำเนิด(Stem cell) ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow)
ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
ผู้ป่วยจึงเกิดอาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
แบ่งได้ (เป็น 2 ชนิด)
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
สาเหตุของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
อาจเกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อมหรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
ปัจจัยทางพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม (Down’s syndrome)
ฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
มีโอกาสเป็นโรคนี้ได้สูงกว่าคนทั่วไปประมาณ 2-4 เท่า
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
Acute myelogenous leukemia
พบได้ในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
Chronic myelogenous leukemia
เป็นชนิดที่พบได้น้อย
พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
ในผู้ป่วยเด็กนั้นประมาณ 80% มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
Chronic lymphocytic leukemia
พบได้บ่อยในผู้ใหญ่
มีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
Acute lymphoblastic leukemia
พบได้บ่อยที่สุดในเด็กอายุ 2-5 ปี
พบได้ในทุกช่วงอายุ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
อาการ
อาการแรกที่เป็น
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลีย
เลือดออกง่าย จากเกร็ดเลือดต่ำ
มีจ่ำเขียวขึ้นบนตามตัว
ติดเชื้อง่าย มีไข้ เป็นอาการสำคัญที่มักจะมารับการรักษา
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
ระบบน้ำเหลือง (Lymphoma System) เป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกัน
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ(Cervical Lympnode
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma)
พบต่อมน้ำเหลืองจะโตมาเป็นปี
ไม่มีอาการเจ็บปวด
มีลักษณะเฉพาะ คือจะ
พบ Reed-Sternberg cell ซึ่งไม่มีในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดอื่น
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน (Non-Hodgkin Lymphoma)
อาการจะเร็วและรุนแรง
อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell
( B-lymphocyte)
มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ
มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก
มักพบเฉพาะที่
ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
อาการ
อาการเริ่มต้น
จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ
คอ รักแร้ ขาหนีบ หรือเต้านม
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
จุดเลือดออกตามตัว จ้ำเลือด
ในรายที่เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
แน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย ท้องโตขึ้นจากการมีน้ำในช่องท้อง
มะเร็งไต Wilm Tomor หรือ Nephroblastoma
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
มักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
จะไม่ให้คลำบ่อย เพราะอาจทำให้ก้อนแตก หรืออาจเกิดการแพร่กระจายของมะเร็ง
นิวโรบลาสโตมา Neuroblastoma
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรง
พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
อาการ
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง อาการอื่นๆ
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes)
มีไข้
ปวดกระดูก ตำแหน่ง
ที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
การตอบสนองต่อการรักษาจะไม่ดี
มีอัตราการตายสูง
การรักษาด้วยยาเคมีบําบัด
Chemotherapy
ระยะการรักษาเคมีบำบัด
ระยะชักนำให.โรคสงบ (induction phase)
ระยะนี้ใช้เวลา 4 – 6 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Vincristine, Adriamycin,
L – Asparaginase และ Glucocorticoid
เป็นการให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุด
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
เป็นการให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะโรคสงบแล้ว
ระยะนี้จะใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS
prophylaxis phase)
เป็นการให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
มักมีโอกาสกลับเป็นโรคอีกครั้ง
ยาที่ใช้
Metrotrexate, Hydrocortisone
และ ARA – C
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or
continuation therapy)
เป็นการให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่นิยมใช้
การให้ 6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด IT IM IV
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดํา vein
ต้องระวังการรั่วของยาออกนอกหลอดเลือด ที่ทําให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
น.ส.ประภัสสร สำเภาทอง เลขที่ 45 ชั้นปีที่ 2 รุ่น 37 (62111301047)