Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยารักษาทางจิต Antipsychotic drugs, นางสาววนิดา ทิพย์พนาพันธุ์ ชั้นปี 2…
ยารักษาทางจิต Antipsychotic drugs
อาการของโรคจิต
กลไกการออกฤทธิ์
Atypical antipsychotic drugs
ยับยั้งการทำหน้าที่ D2 Dopaminergic receptor
ยับยั้งการทำหน้าที่ 5-HT2 serotoninergic receptor
Conventional antipsychotic drugs
ยับยั้ง Dopaminergic(D2)receptor
กรณีตั้งครรภ์/ให้นมบุตร
ถ้าจำเป็นต้องใช้ยา ใช้ขนาดต่ำมากๆควบคุมอาการได้
ก่อนคลอด หยุดยาก่อน 5-10 วัน
ตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก หลีกเลี่ยงยา
หลังคลอดถ้าจำเป็นต้องใช้ยาควรงดให้นมบุตร
ยาผ่านรกและน้ำนมได้
ห้ามใช้ยาชนิดฉีดออกฤทธิ์ยาว
การรักษาระยะเฉียบพลัน
Start low, Go slow
สั่งจ่ายยาขนาดที่ใช้ได้ผลอย่างน้อย 4-6 wks.
กรณีรับประทานไม่ได้ พิจารณาให้ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
โรคจิตชนิดเฉียบพลันห้ามใช้ยาออกฤทธิ์นาน
ระยะเวลาที่เป็น
< 6 เดือน โรคจิตประเภทเฉียบพลัน
นาน 6 เดือน โรคจิตประเภท
< 1 เดือน โรคจิตเแียบพลัน
การรักษาระยะเรื้อรัง
ควรได้รับยาในขนาดต่ำและควบคุมได้
มีแนวโน้มรับประทานยาตลอดชีวิต
ถ้าผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือในการทานยา ควรให้ยาฉีดที่ออกฤทธฺ์ยาว
ยารักษาโรคจิต
กลุ่มดั้งเดิม
Haloperidol
perphenazine
Chlorpromazine
Trifluoperazine
Thioridazine
Fluphenazine
กลุ่มใหม่
Clozapine
Olanzapine
Risperidone
Quetiapine
Ziprasdone
Ziprasidone
Aripiprazole
Paliperidone
การพิจารณาหยุดยา
รักษาต่อเนื่อง 12 เด์อนนับจากที่หายจากโรค
หากอาการปกติค่อยๆลดขนาดยาลงจนหยุดได้
แนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตอาการเตือน
โรคจิตชนิดเรื้อรัง
พิจารณาให้หยุดยา
ชั่งน้ำหนัก
ปรึกษาทีมผู้รักษา
อาการข้างเคียงจากยาและการจัดการ
ความดันโลหิตตก >> ลุก ยืน นั่งอย่างช้า
ผิวไหม้เมื่อถูกแสงแดด >>ใส่เสื้อแขนยาว กางลม ทาครีมกันแดด
ตาพร่า >> อาการจะดีขึ้นเอง,ถ้าไม่ดีขึ้นให้ไปปรึกษาแพทย์
อาการง่วง >> หลีกเลี่ยงการทำงานในที่สูง ใช้เครื่องจักร ขับขี่
ปากแห้ง คอแห้ง >>แนะนำให้จิบน้ำบ่อยๆ
มีน้ำนมหลั่ง/ประจำเดือนผิดปกติ >> อาจเกิดขึ้นได้แต่ไม่อันตราย
เคลื่อนไหวช้า มือสั่น กล้ามเนื้อเกร็ง ตาเหลือก >>ให้ยาแก้แพ้
นางสาววนิดา ทิพย์พนาพันธุ์ ชั้นปี 2 ห้อง 2 เลขที่ 55