Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายตามระบบ - Coggle Diagram
การตรวจร่างกายตามระบบ
แขน (Arms)
มีการตรวจดังนี้
-
-
Brachial plexus paralysis หรือ Erb’s paralysis การบาดเจ็บบริเวณกลุ่มประสาท Brachial (Brachial Plexus Injury) ซึ่ง Brachial plexus
Erb-Duchenne Paralysis เกิดจากเส้นประสาทไขสันหลังระดับคอที่ 5, 6 (C 5, 6)
ต้นแขนตก แขนจะหันเข้าข้างใน (adduction) หัวไหล่หมุนเข้าข้างใน (internal rotation) ข้อศอกเหยียดออก แขนส่วนล่างอยู่ในท่าคว่ำ ข้อมืองอ ทำให้มือแบไปข้างหลัง ตรวจไม่พบ Moro reflex แต่ยังมี Grasping reflex
การพยาบาล
จัดแขนของทารกให้อยู่ท่ายอมแพ้ (Abduction 90
degree/external rotation of shoulder/flexion elbow 90 degree) ไม่ให้เคลื่อนไหวเป็นพัก ๆ
Klumpke's Paralysis เกิดจากเส้นประสาทไขสันหลังระดับคอที่ 7, 8 และช่องทรวงอกที่ 1 (C7, 8 และ T1) ได้รับอันตราย
การพยาบาล
ให้คำปรึกษาแก่พ่อแม่ของทารกเพื่อลดความ
วิตกกังวลแนะนำให้นวดแขนทำ active/passive exercise ในช่วง 3-6 เดือน
-
-
-
-
ท้อง(Abdomen)
การตรวจท้องต้องดูลักษณะทั่วไปก่อน ตามปกติท้องของทารกจะค่อนข้างกลมและยื่นออกมาเล็กน้อย ให้ดูว่าท้องอืดหรือ มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินอาหารหรือไม่
-
สะดือ (Cord)
ดูสภาพทั่วไป สีและเส้นเลือดของสายสะดือ ลักษณะสายสะดือปกติควรจะเป็นสีขาวอมฟ้าประกอบด้วยเส้นเลือด 3 เส้น คือ เส้นเลือดดำ (vein) 1 เส้น อยู่ข้างบนขนาดใหญ่ และเส้นเลือดแดง (artery) 2 เส้น
-
ขา(legs)
ควรตรวจตามขั้นตอนดังนี้
- จับ Pulse ที่ femoral artery ว่ามีหรือไม่ แรงเท่ากันทั้ง 2ข้างหรือไม่ ทารกอาจมีภาวะ coarctation of aorta stenosis เกิดจากเส้นเลือด aorta ที่เลี้ยงส่วนล่างตีบ ( stenosis )
2) ตรวจกระดูกต้นขา ถ้ามีกระดูกต้นขาหัก( femoral fracture ) ขาข้างกระดูกหักจะเคลื่อนไหวไม่ได้ พบอาการบวม คลำดูจะพบว่ามีรอยหักชัดเจน
การพยาบาล
-
2.รักษาการตรึงกระดูกให้เข้าที่ อาจใช้ traction หรือการเข้าเฝือกชั่วคราวในท่ายกขาทับหน้าท้อง และไม่ให้ขาเคลื่อนไหว 2-4 สัปดาห์
3.ขาและเท้า อาจพบลักษณะนิ้วเกิน (polydactyly ) นิ้วติดกัน(syndactyly) เท้าปุก(club foot) เป็นความผิดปกติของเท้าและข้อเท้าที่ผิดรูปไป มี 4 ลักษณะ
-
-
-
-
-
-
ทวารหนัก(Anus)
ดูว่ามีรูทวารหนักหรือไม่
โดยใช้ปรอทวัดไข้ทางทวารหนักก่อนตรวจต้องดูกระเปาะว่าชำรุดหรือไม่ แล้วสลัดให้ปรอทลงมาอยู่ต่ำกว่า 35องศาเซลเซียส ทาวาสลินห่างจากกระเปาะ 3 ซม. จากนั้นสอดเข้าไปในทวารหนัก
-
ผิวหนัง (Skin) :
-
-
การตรวจร่างกายทารก
แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน
ก่อนตรวจ
ก่อนตรวจต้องคำนึงถึงความอบอุ่น ความสะอาดของมือผู้ตรวจและอุปกรณ์การตรวจ รวมถึงแสงสว่าง ต้องตรวจภายใต้เครื่องให้รังสีความอบอุ่น (radiant warmer) และการตรวจที่ทำให้ทารกร้องต้องทำทีหลัง
การหายใจ
ต้องดูเป็นอันดับแรกว่าหายใจปกติหรือไม่ ปกติโดยทั่วไปทารกจะหายใจภายใน 2 – 3 วินาที หลังเกิด การหายใจต้องสม่ำเสมอไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที เฉลี่ย 40 ครั้ง/นาที
การเต้นของหัวใจ
ประเมินโดยใช้ stethoscope ฟังบริเวณหน้าอกข้างซ้าย เพื่อนับอัตราการเต้นของหัวใจปกติประมาณ 120 – 160 ครั้ง/นาที ในทารกแรกเกิดปกติอาจฟังได้ยินเสียง murmur แต่จะเป็นอยู่ชั่วคราวเท่านั้น
-
-
-
ตา (Eyes)
ตรวจรูม่านตา (Pupil)
ถ้าพบว่าเป็นสีขาวสะท้อนออกมาจากด้านหลังรูม่านตาแสดงว่ามีเลนส์ตาขุ่น อาจเกิดจาก congenital cataract และ congenital rubella ได้
-
-
หู (Ears)
-
ถ้าพบว่าใบหูตั้งอยู่ต่ำกว่าหางตา ( low set ears) จะต้องตรวจดูความผิดปกติอย่างอื่นว่ามีภาวะ Down’s syndrome หรือไม่
-
-