Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลัง คลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลัง คลอด
เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบ (Endometritis)
สาเหตุ
การตรวจภายใน
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์จริง
การเจ็บครรภ์คลอดที่ยาวนาน
การผ่าตัดที่มดลูก
การตรวจ Internal electrical monitoring
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
มีไข้ ไม่เกิน 38.8 องศาเซลเซียส
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็นและไม่เปลี่ยนสี มีสีแดงน้ำตาล
มดลูกขนาดใหญ่ คลำได้ทางหน้าท้อง นุ่ม กดเจ็บ
ชีพจรเร็ว
WBC > 20,000 /mm3 , neutrophil สูง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย มดลูกโต นุ่ม กดเจ็บ เจ็บสีข้าง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC
การรักษา
รักษาตามอาการ
ให้ยาปฏิชีวนะให้ตรงกับเชื้อ
การพยาบาล
ในรายที่มีอาการรุนแรง อาจได้รับสารน้ทางหลอดเลือดดำ ร่วมกับ oxytocin
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาลดปวด ลดไข้
ติดตาม V/S
ดูแลให้นอนพักผ่อนมากที่สุด
แนะนำให้งดการมีเพศสัมพันธุ์ และงดสวนล้างช่องคลอด
จัดให้นอนท่า fow ler’sช่วยให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก
แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ
มดลูกไม่เข้าอู่ (Subivolution)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง อาการผิดปกติในระยะคลอดหรือมีภาวะเลือดออกมาก ตกขาว ปวดหลัง
การตรวจร่่างกาย
ยอดมดลูกยังสูงกว่าระดับกระดูกหัวหน่าว นุ่ม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาการและอาการแสดง
ปวดมดลูกและมีไข้
น้ำคาวปลาไม่จาง หรือจางแล้วกลับมาเป็นสีแดงอีก
ระดับยอดมดลูกไม่ลด
เหนื่อย อ่อนเพลีย
สาเหตุ
มดลูกคว่ำหลังหรือคว่ำหน้ามาก
มารดาหลังคลอดที่ไม่ได้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
มีเศษรก หรือเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
มีการอักเสบติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูก
ความตึงตัวของการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี
เนื้องอกของมดลูก
การรักษา
ให้ยาช่วยการบีบตัวของมดลูก นิยมให้ methergin 0.2 มิลลิกรัม หรือ Oxytocin
ให้ยาปฏิชีวนะถ้ามีการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
สาเหตุเกิดจากมีรกและเศษเยื่อหุ้มรกค้างในโพรง
มดลูกให้ขูดมดลูก
การพยาบาล
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวก่อนวัดระดับยอดมดลูก และดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
แนะนำวิธีที่ทำให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก เช่น ลุกเดิน นอนคว่ำใช้หมอนรองท้องน้อย
ติดตาม V/S
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบในอุ้งเชิงกราน (Pelvic Thrombophlebiis)
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องน้อยด้านล่างและปวดสีข้าง
ตรวจพบก้อน
อาจมีไข้
สาเหตุ
การอักเสบของเส้นเลือดในบริเวณกล้ามเนื้อมดลูกลุกลามเข้าไปใน Ovarian vein
การติดเชื้อบริเวณมดลูก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การให้ยาแก้ปวด
การพยาบาล
ดูแลตามอาการ
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อน
การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน (Parametritis)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางช่องคลอดร่วมกับการตรวจทางทวารหนัก (rectovaginal exame)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สาเหตุ
มีการติดเชื้อที่ช่องคลอดหรือปากมดลูก
เกิดจากการแพร่กระจายของการติดเชื้อที่ช่องคลอดหรือปากมดลูกมาทางต่อมน้ำเหลือง
อาการและอาการแสดง
ไข้ 38.9-40 องศาเซลเซียส
มดลูกโตขึ้น หรือกดเจ็บที่มดลูกส่วนล่างข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง
หนาวสั่น
หายใจเร็วตื้น
กระหายน้ำ
ท้องอืด คลื่นไส้อาเจียน
การรรักษา
รักษาตามอาการ
ให้ยาปฏิชีวนะให้ตรงกับเชื้อ
ถ้ามีฝีหรือหนองต้องระบายออก
การพยาบาล
จัดท่าให้นอน Semi - fowler
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของอาการ
ดูแลให้ได้รับน้ำ ประมาณวันละ 3,000 - 4,000 มิลลิลิตร
แนะนำการปฏิบัติตัว ขณะอยู่โรงพยาบาลและเมื่อกลับบ้าน
เต้านมอักเสบ (ฺBreast abscess)
สาเหตุ
การติดเชื้อ ที่พบบ่อย Staphylococus aureus
หัวนมแตก
อาารและอาการแสดง
มีไข้
เต้านมมีลักษณะ แดง บวมตึง แข็ง เจ็บ ปวด
ต่อมน้ำเหลืองใต้รักแร้โต
การรักษา
ให้ยาแก้ปวด
เพาะเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ
เจาะระบายหนอง
การพยาบาล
แนะนำการทำความสะอาดหัวนมให้เพียงพอ และให้ทารกดูดนมอย่างถูกต้องในข้างที่ปกติ
ลดการกระตุ้นเต้านมและหัวนมบริเวณที่มีการติดเชื้อ
แนะนำการสวมเสื้อชั้นใน หรือพันผ้าช่วยพยุงเต้านม
ลดความกลัว ความวิตกกังวล
การอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง (Peritonitis)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
การรตรวจวทางห้องปฏิบัติการ
สาเหตุ
การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน
มีการอักเสบติดเชื้อในโพรงมดลูก
แผลผ่าตัดในมดลูกแยกหรือเนื้อเน่าเปื่อย
ที่ท่อนำไข่และรังไข่แตก
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องหรือสัมผัสแล้วปวดท้อง ในบางรายไม่ชัดเจน
ท้องอืดหรือแน่นท้อง
ไข้สูง อุณหภูมิ 39 - 40.5 องศาเซลเซียส
ชีพจร 160 ครั้ง/นาที
คลื่นไส้อาเจียน
ในบางราย มีฝีหนองร่วมด้วยที่ cul de sac , subdiaphragmatic space
การรักษา
NPO
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอ
ให้ gastric suction เพื่อลด distension
งดน้ำและอาหารทางปาก
ถ้าอาการไม่ดีขึ้นอาจต้องตัดมดลูกล้างเอาหนองออก
ให้ยาแก้ปวด
ให้ยาปฏิชีวนะให้ตรงกับเชื้อ
การพยาบาล
ให้นอนท่า semi-fowler
ประเมินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ ถ้ามีท้องอืดควรรายงานแพทย์
ดูแลให้ยาแก้ปวด
ให้การพยาบาลตามอาการ แนะน ำการปฏิบัติตัวขณะอยู่โรงพยาบาลและกลับบ้าน
แนะนำและระมัดระวังเทคนิคปราศจากเชื้อ ล้างมือให้สะอาด
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวินะ และสารน้ำทางหลอดเลือดดำ ตามแผนการรักษา
การพยาบาลมารดาที่มีการติดเชื้อ
ประเมินสาเหตุการติดเชื้อ
ประเมินบริเวณที่มีการติดเชื้อ
ให้คำแนะนำในการรักษาสุขภาพ
ระบายหนอง ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาแก้ปวด ลดไข้
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เตรียมอุปกรณ์กู้ชีพ
Hematoma
สาเหตุ
การเย็บไม่ถึงก้นแผล
การแตกของเส้นเลือด
อาการและอาการแสดง
มีปัญหาปัสสาวะ
ปวดบริเวณมีก้อนเลือด
ปวดถ่วงนช่องคลอด
การรักษา
การผ่าตัดเอาก้อนเลือดออก
ถ้าขนาดก้อนไม่ใหญ่ ให้รักษาตามอาการ
ให้ยาแก้ปวด แก้อักเสบ
ใส่สายสวนปัสสาวะในรายที่ปัสสาวะเองไม่ได้
ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
ภาวะจิตใจหม่นหมอง หดหู่ เศร้า หมดหวัง อาการเด่นชัดหลังคลอด 2-3 เดือน นานกว่า 2 สัปดาห์
การรักษา
การบำบัดด้วยยา
เข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัด
การพยาบาล
แนะนำสามีและญาติให้กำลังใจ
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
สร้างความสัมพันธ์กับมารดา
หากอาการรุนแรงให้สังเกตอาการและดูแลอย่างใกล้ชิด
ภาวะจิตประสาทหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
สับสน จำเวลา บุคคล สถานที่ไม่ได้
กระสับกระส่าย หงุดหงิดง่าย
เริ่มตั้งแต่ 48-72 ชั่งโมง หลังคลอด
นอนไม่หลับ
วิตกกังวลอย่างมาก
ร้องไห้คร่ำครวญ
หลงผิด หูแว่ว ประสาทหลอน
การพยาบาล
เก็บสิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ให้ความสนจทุกกิจกรรมและคำพูด
ป้องกันการทำร้ายตนเอง
ดูแลให้ได้รับยา
การรักษา
รับไว้ในโรงพยาบาลและงดให้นมบุตร
การใช้ยา
ยาต้านโรคจิต
ยาลดภาวะซึมเศร้า
ยาควบคุมอารมณ์
การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ (Episiotomy infection)
การวินิจฉัย
ซักประวัติ อาการและอาการแสดง
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สาเหตุ
เกิดจากการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ขณะคลอด
การแยกของแผล
อาการและอาการแสดง
ปวด บวม แดง ร้อน มีหนองที่แผล
ปัสสาวะลำบาก
ไข้ต่ำๆ
การรักษา
ให้ hot sitz bath
ตัดเนื้อเยื่อที่ตายออกทั้งหมด
การให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
ถอดไหมที่เย็บและเปิดแผลทั้งหมด
ทำความสะอาดแผลวันละ 2 ครั้ง ด้วย betadine
ให้ยาแก้ปวด
ใช้ยาชา 1% xylocain jelly ทาที่แผล
การพยาบาล
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ดูแลทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ติดตามประเมินแผลฝีเย็บทุกวัน โดยให้หญิงหลังคลอดนอนตะแคง
กระตุ้นให้ลุกเดินบ่อย ๆ เพื่อช่วยให้เลือดไปเลี้ยงแผลได้ดีขึ้น
แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อย ๆ เมื่อชุ่ม
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
เมื่อแผลติดดีขึ้น ให้นั่งแช่ก้นวันละ 2 - 3 ครั้ง