Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Community Health Nursing Process - Coggle Diagram
Community Health Nursing Process
Community planing
3.1 โครงสร้างแผนงานโครงการ
นโยบาย (Policy) เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้
แผน (Plan) คือข้อกำหนดของการดำเนินงานเพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์
แผนงาน (Program)
โครงการ (Project) ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ หลัก SMART
กิจกรรม (Activity)
3.2 กระบวนการวางแผนโครงการ
ค้นหาทางเือก กำหนดทางเลือกการแก้ปัญหา
วางแผนขั้นปฏิบัติ กำหนดวิธีการประเมินผล
กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
กำหนดงบประมาณและเขียนโครงการ
วิเคราะห์สถานการณ์ พิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
Community diagnosis
2.2 การกำหนดปัญหา
การวินิจฉัยปัญหาที่แท้จริงของชุมชน เป็นปัญหาสุภาพที่พบ หรือปรากฏอยู่ในขณะที่พยาบาลทำการ Assessment อาจะเป็นปัญหาที่คุกคามต่อชีวิต
การวินิจฉัยความเสี่ยง เป็นการวินิจฉัยกลุ่มคนหรือชุมชนที่มีการเปลี่ยนแปลง บอกเหตุว่่่่าถ้าไม่รีบดำเนิดนการอย่างไรอย่างหนึ่งจะเกิดปัญหาแน่นอน
การวินิจฉัยภาวะสุขภาพดี เป็นการวินิจฉัยคนหรือชุมชนที่มีการเปลี่ยนแปลง มีการพัฒนาสุขภาพให้ดีขึ้น
2.3 การจัดลำดับของปัญหา
ขั้นตอน
การกำหนดปัญหาให้ชัดเจน
กำหนดหลักเกรฑ์ที่จะใช้
ให้น้ำหนักคะแนนของหลักเกณฑ์ตามองค์ประกอบ
ประเมินปัญหาต่างๆด้วยการให้คะแนนแต่ละปัญหา
รวมคะแนนของปัญหาต่างๆ จากข้อ 4 ตามวิธีที่เหมาะสม นิยมใช้วิธีคูร
พิจารณาจัดลำดับความสำคัญของปัญหา โดยดูจากจำนวนคะแนนที่ได้แต่ละปัญหาใดได้มากที่สุด ถือเป็นปัญหาลำดับแรก ปัญหาอื่นๆมีความสำคัญรองลงมาตามลำดับ
วิธีการมีหลายวิธี
วิธีของคลาก และโอฮัมวา
0-25 % = 1 คะแนน
25-50 % = 2 คะแนน
51-75 % = 3 คะแนน
76-100 % = 2 คะแนน
วิธีของ John J.hanlon
วิธีกระบวนการกลุ่ม
วิธีการของ Stanhope และ Lancaster
2.1 จัดกลุ่มเพื่อกำหนดปัญหา
1.Community assessment
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลที่ไม่ได้มีการจัดเก็บมาก่อน เก็บได้จากการสำรวจ สังเกต สนทนากลุ่ม เป็นต้น
ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลที่มีผู้จัดเก็บไว้ก่อนอยู่แล้ว เป็นวิธีที่ประหยัดที่จะไม่ทันสมัย เหมือนข้อมูลปฐมภูมิ
วิธีการเก็บ
สังเกต
แบบมีส่วนร่วม ไม่มีส่วนรวม มีโครงสร้าง ไม่มีโครงสร้าง
สัมภาษณ์
แบบสอบถาม สัมภาษณ์แบบรายคน คู่ การสนทนากลุ่ม หรือแบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
จากเอกสารที่มีอยู่
งานวิจัย หนังสือ บทความ วิทยานิพนธ์
ลักษณะข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ แสดงค่าเป็นตัวเลข
ข้อมูลเชิงคุณภาพ แสดงข้อมูลที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบของตัวเลข
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูล และแปลผล
1.2.2 การแยกประเภทข้อมูล เพื่อจัดหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการวิเคราะห์
1.2.3 การแจกแจงความถี่ ดูว่าข้อมูลชุดหนึ่งๆ มีข้อมูลที่มีคุณสมบัติ หรือลักษณะเหมือนกันอยู่จำนวนเท่าใด ในลักษณะ Dummy table
1.2.1 บรรณาธิการ เป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญ เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ ครบถ้วน และความถูกต้อง
1.2.4 การคำนวนค่าสถิติ การนำข้อมูลที่แจกแจงความถี่มาจัดระบบตัวเลขที่น่าเชื่อถือโดยอาศัยวิธีการทางสถิติ
1.2.5 การนำเสนอข้อมูล ที่ได้จากการรวมรวมมาแสดงรายละเอียดอย่างเป็นระบบ ต้องเลือกการนำเสนอให้สอดคล้องกับลักษณะข้อมูลด้วย
ตาราง
ใช้ในชุดข้อมูลที่อ่านสะดวก มีการเปรียบเทียบที่ชัดเจน
บทความ
้เหมาะสำหรับที่มีข้อมูลน้อย
กราฟเส้น
แสดงข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงปริมาณในเวลาต่างกัน เห็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณและเวลา
แผนภูมิแท่ง
เปรียบเทียบข้องมูลที่หลายหลายรายการ
แผนภูมิวงกลม นำเสนอข้อมูลชุดเดียวกัน
พีระมิดประชากร
แสดงโครงสร้างประชากร ตามอายุเพศ
1.2.6 การแปลความหมายของข้อมูล หมายถึง การอธิบายผลของการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูล
Community implement
4.1 ขั้นเตรียมแผนงานชุมชน
กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ
กำหนดแนวทางการประสานงาน
จัดกลุมประชุม เพื่อทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ
ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ
4.2 ขั้นตอนการดำแนนงาน
ทำงานลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดไว้ และควบคุมติดตาม ประเมิณผลเป็นระยะ
Community evaluation
5.2 ประเมินความก้าวหน้า ประเมินเป็นระยะๆตั้งแต่เริ่มจนสิ้นสุดโครงการ
5.3 ประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ ทำการประเมินทันที เพื่อประเมินว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่
ประเมินประสิทธิภาพ( Effectiveness)
ผลผลิตที่ทำได้ กับ เป้าหมายที่กำหนดไว้
ทรัพยากรที่ใช้ไปจริง กับ ทรัพยาที่กำหนดไว้
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย = ทรัพยากรต่อหน่วย / ผลผลิตของโครงการ
ประเมินผลกระทบ (Impact evaluation) ดูผลโครงการ ในระยะ 3/ 6 เดือน หรือ 1 ปี
5.1 ประเมินผลก่อนเรื่องโครงการ เป็นการประเมินพิจารณาเหตุความจำเป็น
ที่ต้องมีโครงการ