Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด part 2 - Coggle Diagram
บทที่ 6 การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด part 2
ภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้องกับทารกในครรภ์
ภาวะทำรกเติบโตช้ำในครรภ์
ความหมาย
ทารกที่มีน้าหนักต่ากว่าน้าหนักปกติเมื่อเทียบกับน้าหนักทารกในอายุครรภ์นั้น น้ำหนักทารกในครรภ์ที่ประมาณน้ำหนัก < เปอร์เซนไตล์ที่ 10 เป็นเกณฑ์ในการวินิจฉัยภาวะทารกเติบโตช้าในครรภ์ ขณะที่ทารกแรกเกิดที่มีน้าหนัก< เปอร์เซนไตล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับอายุครรภ์
ชนิดของทารกเติบโตช้าในครรภ์
Asymmetrical growth retardation (type II) โตช้าแบบไม่ได้สัดส่วน ส่วนท้องจะช้ากว่าศีรษะ จะเติบโตช้าในไตรมาสที่ 3 ซึ่งเป็นระยะของ cellular hypertrophy ทำให้มีผลต่อขนาดของเซลล์มากกว่าจานวน
Symmetrical growth retardation (type I) โตช้าแบบได้สัดส่วนกันทุกอวัยวะ สาเหตุมักเกิดจากความผิดปกติของทารกเองเช่นจาก chromosome การติดเชื้อของทารกในครรภ์เอง ภาวะทุพโภชนาการ ยาเสพติด เป็นต้น
สาเหตุ
1.สาเหตุจากหญิงตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์เช่น ครรภ์แฝด การใช้สารเสพติดต่างๆ
การได้รับยาที่เป็น teratogen เช่น ยากันชัก warfarin ฯ
โรคทางอายุรกรรม เช่นเบาหวาน ความดันโลหิตสูงฯ
ภาวะทุพโภชนาการ น้าหนักก่อนและระหว่างตั้งครรภ์
ความผิดปกติของมดลูก
2.สาเหตุจากทารก
ภาวะพันธุกรรมหรือโครโมโซมผิดปกติ
ความผิดปกติทางโครงสร้างแต่กาเนิด
การติดเชื้อของมารดาขณะตั้งครรภ์เช่น หัดเยอรมัน ซิฟิลิส มาเลเรีย
3.สาเหตุจากรก
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกาหนดเรื้อรัง
รกขาดเลือด
Placenta velamentosa
การคัดกรองและการวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
การซักถามปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ประวัติการตั้งครรภ์และคลอดบุตรคนก่อน
การซักประวัติการขาดประจำเดือนครั้งสุดท้ายเพื่อประเมินอายุครรภ์ที่ถูกต้อง
2.การตรวจร่างกาย
การประเมินการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์อย่างสม่าเสมอ
การตรวจครรภ์ประเมินขนาดทารก
การวัดความสูงของยอดมดลูก
การติดตามการเพิ่มน้าหนักของหญิงตั้งครรภ์
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่น ได้แก่การใช้อัลตร้าซาวน์ ฯ
การรักษา
แนะนำการปฏิบัติตัว เช่นการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง นอนตะแคงซ้ายและนอนพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 8 ชม. การมาฝากครรภ์ตามนัด
ตรวจการเจริญเติบโต และประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์เป็นระยะ ๆ
รับไว้ในโรงพยาบาลเมื่อหญิงตั้งครรภ์มีภาวะแทรกซ้อนหรือในกรณีที่ต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุด
ตรวจหาควบคุมและลดความรุนแรงของสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยง
วิธีการคลอดขึ้นกับสุขภาพของทารก ความรุนแรงของภาวะทารกเติบโตช้าในครรภ์ และโรคแทรกซ้อนของมารดา สภาพปากมดลูก เชิงกรานตลอดจนความพร้อมในการดูแลมารดาและทารกในครรภ์
การดูแลระยะคลอดงดน้าและอาหารทางปาก ให้สารน้าทางเส้นเลือดดา เจาะถุงน้าคร่า เพื่อดูปริมาณและสีน้าคร่า ให้ยาระงับปวดด้วยความระมัดระวัง ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด และใช้สูติศาสตร์หัตถการที่เหมาะสม
ทำรกในครรภ์อยู่ในภำวะคับขัน (fetal distress)
ความหมาย
ภาวะที่ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย หากได้รับการช่วยเหลือไม่ทันอาจเกิดอันตรายถึงเสียชีวิตได้
สาเหตุ
ภาวะที่เลือดไหลเวียนไปรกไม่เพียงพอ (Uteroplacental insufficiency,UPI) ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ
มดลูกหดรัดตัวมากเกินไป
ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
การตั้งครรภ์เกินกาหนด
DM
Hypertension
ภาวะผิดปกติของสายสะดือ เช่น สายสะดือถูกกดทับในรายที่เกิดน้าคร่าน้อย สายสะดือพลัดต่าฯ
อาการและอาการแสดง
อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
ตรวจพบขี้เทาปนในน้าคร่า (meconium stained)
2.2น้าคร่ามีสีเขียวปนเหลือง มีขี้เทาจานวนมากปนในน้าคร่า (moderate meconium staining)
2.3น้าคร่ามีสีเขียวคล้า และเหนียวข้นมาก (thick meconium staining)
2.1น้้ำคร่ำมีสีเหลือง มีขี้เทาจานวนน้อยปนในน้าคร่า (mild meconium staining)
เลือดของทารกมีภาวะเป็นกรด
ทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด
การประเมินและการวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงผิดปกติ
การตรวจครรภ์และฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์
การวัดสัญญาณชีพ
การตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM, NST,CST,BPP
การใช้ultrasound
การเจาะเลือดทารก (scalp blood sampling)
1.การซักประวัติ จากอาการสาคัญที่มา การดิ้นของทารกในครรภ์ การแตกของถุงน้า รวมถึงการประเมิน
ผลต่อมารดำและทารก
ผลต่อมารดา
ร่างกายอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยา
การรักษาที่ได้รับและหัตถการในการช่วยคลอด
เป็นผลด้านจิตใจมากกว่าจากความกลัวและวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพทารกในครรภ์
ผลต่อทารก
อาจทำให้เกิดขาดออกซิเจนแรกเกิด
ภาวะทุพพลภาพอย่างถาวรหรือรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
การรักษา
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
แก้ไขผู้คลอดตามสถานการณ์ได้แก่ กรณีมีภาวะมดลูกหดรัดตัวมากเกินไป เช่น หยุดการให้ยากระตุ้นมดลูก ให้สารน้าเพิ่มการไหลเวียนของเลือด เป็นต้น
ให้ออกซิเจน 4 ลิตร/นาทีทางcannula หรือ8-10ลิตร/นาทีทาง face mask
ประเมิน FHS และบันทึกเสียงหัวใจทารกอย่างต่อเนื่อง ด้วย On electronic fetal monitoring
ระยะคลอดพิจารณาช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ เช่น ผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน
6.รายงานกุมารแพทย์ทราบและเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพ
การพยาบาล
1.ประเมินและวินิจฉัยปัจจัยที่จะส่งเสริมให้เกิดภาวะนี้ตั้งแต่ตั้งครรภ์
2.แนะนำการปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์ เช่นการนับเด็กดิ้น อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ เป็นต้น
3.ระยะคลอด ดูแลให้การคลอดดำเนินไปตามปกติ และป้องกันการคลอดล่าช้า
4.ในกรณีที่เกิด abnormal FHR pattern ให้การดูแลตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม
5.ในกรณีที่เกิด fetal distress ควรให้การพยาบาลเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดไปที่รกและทารก
5.1จัดท่านอนตะแคงซ้าย
5.2ให้ออกซิเจนและเพิ่มสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
5.3 หยุดยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกทันที (ถ้ามี)
5.4รายงานแพทย์และเตรียมผู้คลอดสาหรับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
5.5รายงานกุมารแพทย์ทราบและเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพของทารกให้พร้อมใช้
5.6อธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวทราบถึงภาวะที่เกิดขึ้น ภาวะแทรกซ้อนและแผนการรักษา เพื่อลดความวิตกกังวล
ภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้องกับมดลูก
ภาวะมดลูกแตก (uterine rupture)
ความหมาย
การฉีกขาด ทะลุหรือมีรอยปริของผนังมดลูก หลังจากที่ทารกในครรภ์โตพอจะมีชีวิตอยู่ได้หรือหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ชนิดการแตกของมดลูก
มดลูกแตกชนิดสมบูรณ์ (complete rupture)
การฉีกขาดของมดลูกที่ทะลุเข้าช่องท้อง โดยมีการฉีกขาดของเยื่อบุมดลูก กล้ามเนื้อมดลูก เยื่อบุช่องท้องที่คลุมมดลูก หรือติดกับมดลูก ทารกมักจะหลุดจากโพรงมดลูกเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
2.มดลูกแตกชนิดไม่สมบูรณ์ (Incomplete rupture)
การฉีกขาดของผนังมดลูกชั้นเยื่อบุมดลูกและกล้ามเนื้อมดลูก endometrium และ myometrium ยกเว้นเยื่อบุช่องท้องที่ยังไม่ฉีกขาด ทารกยังอยู่ในโพรงมดลูกและคลอดทางช่องคลอด และอาจไม่มีอาการแสดงของมดลูกแตก
สาเหตุ
ได้รับกำรกระทบกระเทือน ( traumatic rupture)
1.1 การกระทบกระเทือนอย่างรุนแรงที่บริเวณมดลูกทางตรงหรือทางอ้อม เช่น หกล้ม ได้รับอุบัติเหตุ
1.2 การใช้เครื่องมือหรือวิธีทางสูติศาสตร์ เช่น การล้วงรก การขูดมดลูก การให้ oxytocin หรือprostaglandin ไม่ถูกต้อง
การแตกเอง (spontaneous rupture)
เนื่องจากมดลูกมีพยาธิสภาพ เช่น มีแผลเป็นที่มดลูก ผ่านการคลอดหลายครั้งทาให้กล้ามเนื้อมดลูกผิดปกติ การคลอดติดขัดหรือมดลูกผิดปกติแต่กาเนิด
อาการและอาการแสดง
อาการที่เตือนให้รู้ล่วงหน้าว่ามดลูกใกล้จะแตกแล้ว
ปวดท้องมาก
ตรวจหน้าท้องพบมดลูกหดรัดตัวถี่ (tetanic contraction) หรือแข็งตึงตลอดเวลา (tonic contraction)
แตะต้องบริเวณส่วนล่างของมดลูกไม่ได้
ตรวจพบ Bandl's ring
อาจคลาพบ round ligament เนื่องจากยอดมดลูกอยู่สูง
อัตราการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติหรือฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
ตรวจทางช่องคลอด พบว่าการคลอดไม่ก้าวหน้า ปากมดลูกบวมและอยู่สูงเนื่องจากถูกดึงรั้ง ส่วนนำไม่เคลื่อนต่าลงมา พบว่ามี molding และ caput succedaneum มาก
อาจมีเลือดสดออกทางช่องคลอดหรือไม่มีก็ได้ ปริมาณเลือดที่ออกไม่สัมพันธ์กับอาการและอาการแสดงของการเสียเลือด
ถ้ามดลูกแตกแล้ว จะมีอาการและอาการแสดงออก
มดลูกหยุดการหดรัดตัวทันทีจากการหดรัดตัวอย่างรุนแรง และอาการเจ็บครรภ์จะหายไปทันที
ต่อมาจะมีอาการท้องโป่งตึงและปวดท้องอย่างรุนแรง
อาการหายใจลาบาก เจ็บหน้าอกร้าวไปที่ไหปลาร้าขณะหายใจเข้า ปวดไหล่เนื่องจากเลือดในช่องท้องไปดันกระบังลม จึงปวดร้าวไปตามเส้นประสาท
ผู้คลอดจะรู้สึกหน้ามืด เป็นลม ซีด ตัวเย็น เหงื่อออกมาก ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำ และไม่รู้สึกตัวเกิดภาวะช็อก
คลำส่วนของทารกได้ง่ายทางหน้าท้อง ถ้าเป็นการแตกอย่างสมบูรณ์ (complete rupture)
ตรวจทางช่องคลอดพบว่า ส่วนของทารกที่ติดแน่นอยู่ลอยสูงขึ้นไปหรือคลาส่วนนำไม่ได้
ทารกจะขาดออกซิเจนได้อัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติ หรือฟังเสียงทารกไม่ได้ ถ้าทารกอาจตายแล้ว
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
ทางด้านจิตใจ อาจเครียด วิตกกังวลเกี่ยวกับบุตรและมีประสบการณ์ที่ไม่ดีเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด
ช็อก ภาวะอักเสบของเยื่อบุช่องท้องและถ้าให้การช่วยเหลือไม่ทัน จะทาให้เสียชีวิต
ช็อก
ทาให้เกิดภาวะตกเลือด
ผลต่อทารก
ทารกจะมีภาวะขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
หัวใจทารกเต้นช้าลงจนกระทั่งเสียงหัวใจทารกหยุดลง ซึ่งเหตุการณ์นี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเพียง 2-3 นาทีเท่านั้น
การรักษา
แก้ไขภาวะช็อกโดยให้เลือด สารน้า Ringer’s lactate และให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
ในรายที่มดลูกใกล้จะแตก จะผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ถ้ามดลูกแตกแล้วจะเปิดหน้าท้องเอาทารกออก และตัดมดลูกทิ้ง และให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อภายในช่องท้อง
ในรายที่ต้องการมีบุตรอีก แพทย์จะพิจารณาลักษณะการฉีกขาดของผนังมดลูก การติดเชื้อและภาวะของผู้คลอด
ภาวะมดลูกปลิ้น ( uterine inversion)
ความหมาย
มดลูกตลบกลับเอาผนังด้านใน คือเยื่อบุมดลูกปลิ้นกลับเป็นด้านนอก เกิดขึ้นภายหลังจากทารกคลอด อาจเกิดขึ้นอย่างปัจจุบันในระยะที่ 3 ของการคลอดหรือทันทีหลังรกคลอด
ชนิดของภาวะมดลูกปลิ้น
Complete inversion ได้แก่ ภาวะที่ผนังมดลูกด้านเยื่อบุมดลูกปลิ้นกลับเป็นด้านนอกและโผล่พ้นปากมดลูกออกมา ในบางรายอาจโผล่พ้นปากช่องคลอด
Incomplete or partial inversion ได้แก่ภาวะที่ผนังมดลูกด้านเยื่อบุมดลูกปลิ้นกลับด้านนอก แต่ยังไม่พ้นปากมดลูก
สำเหตุ
การทำคลอดรกผิดวิธีโดยดึงสายสะดืออย่างแรง (cord traction) ในรายที่รกยังไม่ลอกตัวและมดลูกหย่อนตัว
อาจเกิดขึ้นเองเนื่องจากผนังมดลูกหย่อนตัวมากเมื่อมีความดันในช่องท้อง เช่น การไอ จาม พบได้ในหญิงที่ผ่านการคลอดมาหลายครั้ง หรือในการคลอดเฉียบพลัน
มีแรงดันที่ยอดมดลูกระหว่างการคลอด
การทำคลอดทารกที่มีสายสะดือสั้น รกเกาะแน่น
การคลอดเฉียบพลัน การล้วงรก
มีพยาธิสภาพที่ผนังมดลูก เช่น มดลูกอ่อนแรงแต่กำเนิด ผนังมดลูกบางและยืด
อาการและอาการแสดง
เลือดออกมากหลังจากรกคลอดทันที
เจ็บปวดมากจะเป็นลม มีอาการปวดที่บริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
ช็อก เนื่องจากรังไข่ ปีกมดลูก และ broad ligament ถูกดึงรั้ง ถูกกด และเสียดสี และเสียเลือดมาก จะตรวจพบชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่า ผู้ป่วยซีด
คลาหน้าท้องไม่พบยอดมดลูก แต่จะพบร่องบุ๋มแทน
ตรวจทางช่องคลอด ในรายที่มดลูกปลิ้นทั้งหมด จะพบผนังมดลูกด้านเยื่อบุมดลูกด้านในโผล่พ้นปากมดลูกออกมาอยู่ในช่องคลอด
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
2.การตรวจร่างกาย จากอาการและอาการแสดงที่กล่าวข้างต้น
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เจาะเลือดตรวจภาวะซีด
ผลต่อมารดา
ติดเชื้อ
ภาวะความดันโลหิตจาง
ตกเลือด (Hypovolemic shock)
บางรายอาจต้องตัดมดลูกทิ้งทาให้รู้สึกต่อภาพลักษณ์และคุณค่าของตนเองในทางลบ
ช็อกจากการปวดมาก (Neurogenic shock)
การรักษา
การป้องกัน การทำคลอดรกต้องทำอย่างถูกวิธี ควรรอให้รกลอกตัวก่อนแล้วจึงคลึงมดลูกให้แข็งตัว ก่อนให้การช่วยเหลือการคลอดรกโดยวิธี modified crede' หรือกดไล่รกที่บริเวณหัวหน่าวเวลาทาคลอดโดยวิธี Brandt-Andrews หรือเลี่ยงการทาคลอดรกโดยวิธีดึงสายสะดือ
ในกรณีที่เกิดขึ้นแล้ว ให้เตรียมการแก้ไขภาวะนี้ทันที เพื่อป้องกันอาการช็อก และการเสียเลือด โดยให้สารน้า แต่ในรายที่มีภาวะช็อกเกิดขึ้นแล้ว ควรแก้ไขอาการช็อกก่อน ใช้ผ้าชุบน้าเกลืออุ่นคลุม แล้วจึงทาการแก้ไขมดลูกภายหลัง ควรให้ยากลุ่ม Narcotic เช่น pethidine
ดันมดลูกที่ปลิ้นให้กลับเข้าที่โดยวิธีการของ Johnson ต้องกระทำร่วมไปกับการวางยาสลบแล้วจึงฉีดยากระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
ในรายที่ไม่สามารถดันมดลูกกลับได้สาเร็จ หรือในรายที่มดลูกปลิ้นชนิดเรื้อรังหรือปากมดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน จะต้องช่วยผ่าตัดเพื่อดึงมดลูกกลับเข้าที่เดิม
ในรายที่เลือดออกมาก ควบคุมไม่ได้จาเป็นต้องตัดมดลูกทิ้ง
ภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้องกับรกและอื่นๆ
ภาวะรกค้างและการล้วงรก
ความหมาย
โดยทั่วไปรกและเยื่อหุ้มจะคลอดออกมาหลังจากทารกเกิด 5-15 นาที แต่บางครั้งไม่สามารถคลอดออกมาได้ ซึ่งถ้าไม่คลอดภายหลังเกิด 30 นาที เรียกว่ารกค้าง (retained placenta)
ลักษณะของรกค้าง
รกลอกตัวสมบูรณ์ แต่คลอดไม่ได้เพราะอาจเนื่องจากการหดรัดตัวที่ผิดปกติของมดลูก เช่น constriction ring และปากมดลูกแข็งเกร็ง (cervical cramp) เป็นต้น
รกติดแน่นจากการฝังตัวลึกกว่าปกติ (Placenta adherens)
3.2 Placenta increta villi จะฝังตัวลงไปในชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
3.3 Placenta percreta villi จะฝังตัวลงไปในชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนทะลุผนังมดลูกและอาจงอกเข้าไปในอวัยวะอื่นในอุ้งเชิงกรานที่อยู่ติดกับมดลูกด้วย
3.1 Placenta accreta villi จะฝังตัวลงไปในชั้นเยื่อบุมดลูกแต่ไม่ผ่านลงไปในชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
รกลอกตัวไม่สมบูรณ์ การที่รกลอกตัวจากผนังมดลูกเพียงบางส่วนจะมีเลือดออกจากบริเวณนั้น อีกส่วนหนึ่งของรกที่ไม่ลอกตัวจะทาให้การหดรัดตัวและการคลายตัวไม่ดี จะมีเลือดไหลออกมาเรื่อย ๆ จนกว่ารกลอกตัวหมดและคลอดออกมา
สำเหตุ
1.การทำคลอดรกไม่ถูกต้อง ส่วนใหญ่เกิดจากการคลึงมดลูกก่อนที่รกจะลอกตัว หรือการให้ยา methergin ก่อนทำคลอดรก ทำให้เกิดการหดเกร็งของมดลูก (constriction) หรือปากมดลูกแข็งเกร็ง (cervical cramp)
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี อาจเนื่องมาจากการคลอดล่าช้า ผู้คลอดได้รับยาแก้ปวดมากเกินไป อ่อนเพลีย การได้รับยาสลบ กระเพาะปัสสาวะเต็ม รกจึงไม่ลอกตัวหรือลอกตัวไม่สมบูรณ์
รกมีความผิดปกติ เช่นมีรกน้อย รกมีขนาดใหญ่และแบน รกเกาะแน่น หรือรกฝังตัวลึกกว่าปกติ
มดลูกมีลักษณะผิดปกติ เช่นมีผนังกั้นภายในโพรงมดลูก (bicornuate uterus)
สายสะดือขาดเนื่องจากการทาคลอดรกผิดวิธี
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ ประวัติการแท้งและการขูดมดลูก การตกเลือด หรือรกค้างในครรภ์ก่อน
2.การตรวจร่างกาย ได้แก่การตรวจการหดรัดตัวของมดลูก การตรวจสอบกระเพาะปัสสาวะจานวนเลือดที่เสียจากการคลอด ระยะเวลาที่รอรกคลอด สัญญาณชีพ การตรวจรก
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการหรอการตรวจพิเศษ ได้แก่การใช้อัลตร้าซาวน์ตรวจสอบมดลูกภายหลังรกคลอดในกรณีที่สงสัยว่ารกไม่ครบ การตรวจเลือดดูภาวะซีด
ผลต่อมารดา
ทำให้ตกเลือด และ Hypovolemic shock
การรักษา
กรณีที่มีรกค้างแพทย์จะตัดสินใจล้วงรก
ภาวะแทรกซ้อนจำการล้วงรก
การติดเชื้อ
การฉีกขาดของ fornix ป้องกันได้โดยตามสายสะดือเข้าไปหาแผ่นรกเกาะเซาะ
มดลูกทะลุ ป้องกันโดยเซาะรกให้ถูกต้องถูกวิธี
เศษรกหรือเยื่อหุ้มทารกค้าง ต้องตรวจสภาพของผนังมดลูกหลังล้วง ถ้าสงสัยมีบางส่วนค้างให้ใช้ผ้าก๊อซพันนิ้วมือเข้าไปทาการตรวจซ้า
ตกเลือด จากการล้วงรกและเยื่อหุ้มรกออกไม่หมด รกค้าง ล้วงช้า ล้วงยาก
มดลูกปลิ้น ป้องกันโดยการเอารกที่เซาะออกแล้ว ออกมาด้วยความระมัดระวัง
หากล้วงรกออกไม่ได้ เนื่องจากการล้วงไม่ถูกวิธีหรือรกฝังตัวลึก แพทย์อาจจะให้การช่วยเหลือโดยการขูดมดลูกหรือตัดมดลูกทิ้ง
ภาวะช็อกทำงสูติศาสตร์ (shock)
ความหมาย
ภาวะที่เนื้อเยื่อต่าง ๆ ทั่วร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ ทาให้เซลล์ต่างๆขาดออกซิเจนจนไม่สามารถทาหน้าที่ได้ตามปกติ เนื่องมาจากสาเหตุต่าง ๆ ที่ทาให้ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว ในทางสูติศาสตร์แบ่งชนิดของภาวะช็อก
ชนิดของภาวะช๊อค
ภาวะช็อกจากปริมาณเลือดน้อย (hypovolemic shock)
ภาวะที่เกิดจากปริมาณเลือด พลาสม่าหรือน้าในร่างกายลดลง ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์นอกมดลูก ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากรกลอกตัวก่อนกาหนด รกเกาะต่า มดลูกฉีกขาดตกเลือดหลังคลอด และการผ่าตัดทางสูติศาสตร์
ภาวะช็อกจากประสิทธิภาพการบีบตัวของของหัวใจลดลง (cardiogenic shock)
ภาวะที่เกิดจากทำงานล้มเหลวของหัวใจด้านซ้ายทำให้กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงไม่สามารถบีบตัวได้แรงพอเกิดเลือดคั่งที่หัวใจซีกซ้ายและปอด
ภาวะช็อกจากกำรเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของหลอดเลือด (vasogenic shock)
ภาวะที่เกิดจากการขยายตัวของหลอดเลือดมีผลให้เพิ่มความจุของหลอดเลือดและแรงต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลายลดลง ทาให้ระบบไหลเวียนในร่างกายผิดปกติและเกิดภาวะช็อก
3.2 ภาวะช็อกจากระบบประสาท (neurogenic shock) เป็นภาวะที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทที่ควบคุมการทางานของหลอดเลือดในสมองโดยขัดขวางการส่งสัญญาณจากศูนย์ควบคุมการทางานของหลอดเลือดที่จะไปกระตุ้นระบบประสาท sympathetic
3.3 ภาวะช็อกจากปฏิกิริยาแพ้อย่างรุนแรง (Anaphylactic shock) เป็นภาวะช็อกที่เกิดจากร่างกาย มีปฏิกิริยาแพ้อย่างรุนแรงต่อสารแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายและมีผลต่อการหลั่งสารที่มีผลต่อหลอดเลือด
3.1 ภาวะช็อกจากการติดเชื้อในเลือด ( bacteriemic shock or Septic shock) เป็นภาวะที่เกิดจากการติดเชื้อในเลือด ที่พบบ่อยคือเชื้อ gram negative
อาการและอาการแสดง
ชีพจรเบาเร็วประมาณ 100-120 ครั้ง/นาที ในรายที่รุนแรงมากจะเร็วกว่า 120 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิตลดลง pulse pressure แคบเข้า
มีการเปลี่ยนแปลงของการหายใจ การหายใจระยะแรกจะหายใจตื้น ต่อมาเมื่ออาการรุนแรงจะหายใจลึกและหอบ เกิดอาการขาดออกซิเจน
อาการซีดจะสังเกตสีหน้าซีดเผือด เยื่อบุต่าง ๆ ซีดขาว ผิวหนังเย็นซีด และเหงื่อแตก อุณหภูมิต่ำ มีอาการกระสับกระส่าย กระหายน้ำ ปัสสาวะน้อย ถ้ารุนแรงมากอาจไม่มีปัสสาวะ แต่ภาวะจากการติดเชื้อ (septic shock) จะมีปัสสาวะออกมาก
มีอาการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว ถ้าเป็นมากระดับความรู้สึกตัวลดลง เลอะเลือน
การวินิจฉัย วินิจฉัยตามอาการและอาการแสดง
ผลต่อมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
ระบบหายใจล้มเหลว
ไตวาย
สมองบวม
การทางานของอวัยวะต่างๆล้มเหลว
ผลถึงหลังคลอดเกิด Sheehan’syndrome จากเนื้อเยื่อของต่อม pituitary ตาย
ผลกระทบต่อทารก
กรณีที่มารดาเกิดภาวะช็อกก่อนคลอด ทารกในครรภ์อาจเกิดภาวะ fetal distress
ถ้ามารดาเกิดหลังคลอดส่งผลต่อการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก ไม่สามารถดูดนมแม่ได้เพราะน้ำนมมีน้อย
การรักษา
2.ภาวะช็อกจากประสิทธิภาพการบีบตัวของของหัวใจลดลง ควรเพิ่มการทำงานของหัวใจเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจและป้องกันหัวใจเต้นผิดจังหวะ
3.ภาวะช็อกจากการติดเชื้อในเลือด ควรให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม
1.ภาวะช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ ควรรักษาสมดุลของปริมาณการไหลเวียนของเลือดให้เพียงพอ เช่น การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ เป็นต้น
4.ภาวะช็อกจากการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของหลอดเลือดในสมอง ควรเพิ่มปริมาณการไหลเวียนของเลือด เช่นให้ยาที่ส่งเสริมการหดรัดตัวของเส้นเลือด เป็นต้น