Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์
ภาวะอาเจียนไม่สงบ
ความหมาย: ภาวะคลื่นไส้ อาเจียนมากกว่าปกติ เมื่อสัปดาห์ที่ 12-16
เป็นต้นไป
สาเหตุ
HCG. & เอสโตรเจน สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
ผลของโปรเจสเตอโรนทำให้ กระเพาะอาหารเคลื่อนไหวช้า
ภาวะน้าตาลในเลือดต่้า
สภาพจิตใจที่ไม่ปกติ 5. ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน
ปัจจัยส่งเสริม
อายุน้อย ครรภ์แรก
การตั้งครรภ์แฝด (รกใหญ่กว่าปกติ)
ครรภ์ไข่ปลาอุก (รกเจริญผิดปกติไม่มีตัวเด็ก)
เคยมีประวัติคลื่นไส้ อาเจียน
มีประวัติการเจ็บป่วยทางจิต
มีลักษณะอารมณ์ตึงเครียด
อาการและอาการแสดง
ไม่รุนแรง
1.1อาเจียน <5 ครั้ง/วัน ท้างานได้ตามปกติ
1.2อาเจียนไม่มีน้้าหรือเศษอาหาร
1.3 นน.ตัวลดลงเล็กน้อย ไม่ขาดสารอาหาร
1.4 ท้ากิจวัตรประจ้าได้
รุนแรงปานกลาง
2.1 อาเจียนติดต่อกัน > 5-10 ครั้ง/วัน
2.2อาเจียนติดต่อกันไม่หยุด
2.4 อ่อนเพลีย
2.5 นน.ตัวลด มีการขาดสารอาหาร
2.3มีภาวะเลือดเป็นกรด
รุนแรงมาก
3.1 อาเจียน > 10 ครั้ง/วัน นอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
3.2 อาเจียนทันทีหลังทาน และอาเจียนติดต่อเกิน 4 wk
3.3 อ่อนเพลีย ซูบผอม นน.ตัวลดมาก
3.4 เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
-ผิวหนังแห้ง ไม่ยืดหยุ่น ปากแห้ง ลิ้นฝ้าขาว แตก
-ตาลึก ขุ่น มองภาพไม่ชัด
-ปัสสาวะขุ่น ออกน้อย
-ตัวเหลือง
-ท้องผูก
-มีไข้ความดันโลหิตลด
พยาธิสรีรภาพ
1.การเปลี่ยนแปลงของระตับ Human chorionic gonadotrophin (HCG) จะกระตุ้น Chemoreceptor trigger zone (CTZ) ซึงอยู่บริเวณพื้นผิวเล็กๆ ของ Fourth ventricle ในสมอง ซึ่ง CTZ จะส่งกระแสประสาทความรู้สึกต่อไปยังศูนย์ควบคุมการอาเจียน (Vomiting Center)
2.ความวิตกกังวล (Anxiety) จะกระตุ้น Cerebral cortex และ Limbic system ซึงอยู่ ที่สมองส่วนหน้า และบริเวณนี้จะส่งกระแสประสาทความรู้สึกไปยังศูนย์ควบคุมการอาเจียน อาการและอาการแสดง
การรักษาและการพยาบาล
ให้ดื่มของอุ่นๆ ทันทีที่ตื่นนอน แล้วนอนต่ออีก 15 นาที ก่อนลุกทำกิจวัตรประจำวัน
ให้รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย งดอาหารที่มีกลิ่นหรือทอดระหว่างหรือรับประทานอาหารไม่ควรดื่มน้ำ
ให้ยาระงับประสาท หรือ ยาแก้คลื่นไส้ อาเจียน
ป้องกันมิให้ท้องผูก
ให้วิตามินและแร่ธาตุ B1-6-12
Record V/S
ตรวจปัสสาวะหาความจ้าเพาะ คีโตน คลอไรด์ และโปรตีน
ชั่ง นน. ตัวทุกวัน
ให้อยู่ในที่สงบไม่มีผู้รบกวน ให้ความเห็นอก เห็นใจและดูแลอย่าใกล้ชิด
ดูแลให้ได้รับสารน้าทางหลอดเลือดด้า
การวินิจฉัย
1.ประวัติการตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนอย่างยาวนาน จนกระทั่งอายุครรภ์ มากกว่า12 สัปดาห์ขึ้นไป
2.จากการตรวจร่างกาย ในรายที่มีอาการรุนแรงมาก พบว่า น้ำหนักตัวลด ผิวหนังแห้ง ลิ้นแห้งเป็นฝ้า ริมฝีปากแตก ปากแตก ปากและฟันสกปรก ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น
3.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจเลือดพบ โซเดียม โพตัสเซียม และคลอไรต์ต่ำ SGOT และ Liver function test สูงฮีมาโตคริตสูง,BUN สูง และโซเดียมในเลือดต่ำ
3.2 การตรวจปัสสาวะ พบว่ามีความถ่วงจำเพาะสูง ไข่ขาวในปัสสาวะเพิ่มขึ้น พบคีโตนในปัสสาวะ ถ้ามีอาการรุนแรงมากอาจพบน้ำดีในปัสสาวะ
ครรภ์น้ำคร่ำน้อย
ความหมาย
การมีน้ำคร้ำ < 500 ml. หรือ AFI ≤ 5 cms
สาเหตุ
ความผิดปกติทางมารดา
1.ภาวะความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
2.ภาวะรกขาดเลือดไปเลี้ยง
3.เป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
4.การตั้งครรภ์แฝด
5.การตั้งครรภ์เกินกำหนด
6.ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด หรือรั่วเป็นเวลานาน
ความผิดปกติของทารก
1.มีการอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะของทารก
2.ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
3.ความพิการของทารก
4.ความผิดปกติของโคโมโซม
การวินิจฉัย
มีประวัติว่ามีน้ำเดินทางช่องคลอด
ทารกเคลื่อนไหวน้อย
การตรวจทางหน้าท้องคลำได้ส่วนของทารกได้ง่าย ไม่สามารถท้า ballottement ของศีรษะทารกได้
เมื่อถุงน้ำคร้าแตกน้ำคร้ำออกน้อยข้น
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกหดบีบรัดตัวทารกได้มาก และมักมีพังผืดยึดติดรัดส่วนของร่างกายทารกกับผนัง amnion ท้าให้ทารกเกิดความพิการได้ง่าย เช่น เท้าแป แขนหรือขาโก่ง ผิวหนังแห้งเหี่ยวย่น
ทารกมักอยู่ในท่าก้น
การรักษา
ใส่น้ำเกลือ isotonic เข้าไปในถุงน้ำคร้ำในปริมาณที่พอเหมาะ ไม่เกินครั้งละ 200 ml. หรือทำให้ความดันภายในถุงน้าคร้ากลับสู่ปกติ
การรักษาภาวะทารกเจริญเติมโตช้า และตรวจดูความพิการแต่กำเนิดของทารกในครรภ์ จากการตรวจด้วยคื่นเสียงความถี่สูง มีการรักษาภายในครรภ์โดยการใส่สาย (Shunt) เข้าไปในกระเพราะอาหารของทานก ในกรณีที่มีการอุดตันอยู่ต่ำบริเวณท่อปัสสาวะจะช่วยดภาวะไตบวมน้ำ(Hydronephrosis) และทำให้ไตทารกไม่เสีย
ครรภ์แฝดน้ำ
ความหมาย
การมีน้าคร้า > 2000 ml. หรือ AFI ≥ 24 cms.
ชนิดของครรภ์แฝดน้ำ
แบบเฉียบพลัน ภายใน 2-3 วัน จะเกิดเมื ออายุครรภ์
ประมาณ 20 สัปดาห์ ท้าให้มีอาการผิดปกติได้มาก
แบบเรื้อรัง ใช้เวลานาน 2-3 wk ขึ้นไป เมื่ออายุครรภ์
28 wk ขึ นไป มีอาการแน่นอึดอัดเมื่อท้องใหญ่มาก
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด เหตุที่ทำให้มีน้าคร้ำมากกว่าปกติ
เยื่อ amnion มีเนื้อที่กว้าง
ไม่มีส่วนที่คลุมปิดสมองไขสันหลัง
ไม่มีantidiuretic hormone
ไม่มีการดูดซึมถ่ายเท
น้ำคร้ำ
การไหลเวียนเลือดผิดปกติ
6.มารดาเป็นเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้
7.ทารก มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง หรือระบบทางเดินอาหาร ความผิดปกติของหัวใจ ระบบทางเดินปัสสาวะ มีโครโมโซมผิดปกติ คือทารกเกิดความพิการ
อาการและอาการแสดง
แบบเรื้อรัง : แน่นอึคอัด โดยเฉพาะเมื่อนอนราบ แต่
มักจะทนได้
แบบเฉียบพลัน : แน่นอึดอัดมาก เจ็บท้อง หายใจล้าบากใจสั่น คลื้นไส้ อาเจียน อาจมีบวมที่ขา หน้าท้อง หรืออวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การวินิจฉัย
ตรวจหน้าท้อง: มดลูกมีขนาดใหญ่ รูปร่างกลม และตึงทุกทิศทาง ระดับยอดมดลูกสูง คล้าส่วนของทารกไม่พบหรือพบยาก บอกท่าทารกได้ยาก
เสียงหัวใจทารกฟังได้ยาก
ตรวจทางช่องคลอด: คอมดลูกสีคล้ำนุ่มสั้นอาจคลำพบถุงน้ำคร้ำโป่งตึงเมื่อปากมดลูกเริ่มขยาย โดยไม่มีการเจ็บครรภ์
การตรวจพิเศษ: x-ray, ultrasound
ภาวะแทรกซ้อนในครรภ์แฝดน้ำ
ผลเสียต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์
ศีรษะเด็กลอย หรือท่าผิดปกติ
PROM
Preterm labor
ความพิการของทารก
Abruptio placenta
Pre-eclampsia
ระยะคลอด
Prolapsed cord
การคลอดยาก
Uterine inertia
ตกเลือดหลังคลอด
ผลเสียต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารก
เจริญเติบโตในครรภ์ไม่ดี
ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
ระยะหลังคลอด
1.ตกเลือดหลังคลอด เพราะมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
2.ติดเชื้อหลังคลอด
การดูแลรักษา
ให้นอนพักผ่อน ศีรษะสูง ให้อาหารที มีโปรตีนสูง
รักษาโรคหรือภาวะผิดปกติที มีร่วม ยา indomethacin
ถ้าพบความผิดปกติของทารก อาจสิ้นสุดการตั้งครรภ์โดยเจาะถุงน้าคร้ำให้น้ำคร้ำค่อยๆไหลออกมาช้า
ถ้าไม่พบความผิดปกติของทารก ใช้เข็มเจาะหน้าท้องให้น้าคร้าไหลออกเองช้าๆ
ให้การคลอดด้าเนินไปตามปกติ
จัดการช่วยคลอดให้ถูกต้อง
ระวังการตกเลือดหลังคลอด
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ความหมาย
ภาวะที่ความดันซีสโตลิค (Systolic) 140 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไปหรือสูงกว่าเดิม 30 มิลลิเมตรปรอท และความดันไดแอสโตลิค (Diastolic) 90มิลลิเมตรปรอทขึ้นไปหรือสูงกว่าเดิม 15 มิลลิเมตรปรอท จากการวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกันไม่น้อยกว่า 6 ชม. ภายหลังผู้ถูกวัดอยู่ในสภาวะพักผ่อนบนเตียงแล้ว
การจำแนกภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์
1.Geatational hypertension
สาเหตุ : ยังไม่ทราบแน่นอน แต่มีปัจจัยเสี่ยง
• ครรภ์แรก อายุ < 18 ปี หรือ อายุ > 35 ปี
• มีความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
•ครรภ์แฝด ครรภ์ไข่ปลาอุก ครรภ์แฝดน้า
• ฐานะทางเศรษฐกิจต่่ำ
• รับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด พวกแป้ง ขาด
โปรตีน และวิตามิน
พยาธิสรีรวิทยา
การทางานของไต : GFR
-ปัสสาวะออกน้อย
-ไข่ขาวในปัสสาวะ
Hypovolemia 1500 cc. เนื่องจากเส้นเลือดหดตัว และเพิ่มpermeability ของเส้นเลือดทำให้น้ำรั่วออกนอกเส้นเลือด เกิดอาการบวมและเลือดข้น
การแข็งตัวของเลือด : เกร็ดเลือดต่ำ
การทำงานของตับบกพร่อง
ความผิดปกติในสมอง : ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว hyperreflexia มีอาการกระตุกสั่นของกล้ามเนื้อ เลือดไปเลี้ยงสมองลดลงทาให้สมองบวม
การไหลเวียนที่รกลดลง เกิด IUGR, fetal hypoxia รกลอกตัวก่อนกำหนด เพิ่มการตายของทารก
การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในเลือด ทาให้กรดยูริค สูงขึ้น
การทำงานของปอด ทำให้ปอดบวม
1.1.Preeclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงซึ่งเกิดขึ้นใน ขณะตั้งครรภ์เมื่ออายุครรภ์เกิน 20 สัปดาห์ขึ้นไป ร่วมกับการตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
Mild preeclampsia
-ความดันโลหิตสูง >= 140/90 มม.ปรอท
-บวม นน.ตัวเพิ่มขึ้น > 1.5 กก./2 wk
-ไข่ขาวในปัสสาวะ
อาการขั้นรุนแรง (Severe preeclampsia)
HELLP syndrome : hemolysis (H)
Elevated liver enzyme (EL)
low platelet count (LP)
Severe preeclampsia
-ความดัน >= 160/110 มม.ปรอท
-บวมทั้งตัว น้าคั่งในปอด
-ไข่ขาวในปัสสาวะ 3+ ถึง 4+
-ปัสสาวะ < 500 cc/day
-ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน
-คลื่นไส้ อาเจียนพุ่ง
-ปวดเจ็บบริเวณลิ้นปี่หรือชายโครงขวา
-hyperreflexia
-เด็กดิ้นน้อยลง
-มีอาการอาของอาการชัก ปวดศีรษะมาก ซึม
1.2.Eclampsia
ความหมาย: preeclampsia ที่มีความรุนแรงจนเกิดอาการชักเกร็งหมดสติ
สาเหตุ:จากสมองขาด O2 เพราะการหดรัดตัวของหลอดเลือด
พยาธิสภาพ
ตับ บวมมีเลือดออก
ไต มีขนาดใหญ่ขึ้น เสื่อมสภาพของเยื่อบุหลอดเลือดฝอย
สมองบวมน้า เสื่อมสภาพของเนื้อเยื่อสมอง
ปอด มีน้าหรือเลือดคั่งในปอด
กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อมสภาพ
อาการชัก
ระยะนา หรือระยะเตือน (Premonitary stage)มีอาการกระสับกระส่าย นัยน์ตากรอกไปมา ฯ
ระยะเกร็ง (Tonic stage) ลาตัวแข็งเกร็งแขนงอมือกำแน่น ขางอพับ ขบฟันแน่น หยุดหายใจ
ระยะชัก (Clonic stage) ชักกระตุกของกล้ามเนื้อทั่วร่างกายอย่างแรง
ระยะหมดสติ (Coma stage)
2.Chronic hypertension (CHT)
ภาวะความดันโลหิตสูง ซึ่งเกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ และคงอยู่นานเกินกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
3.Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงในกลุ่ม Chonic hypertension ร่วมกับ Preeclampsia โดยมีอาการบวม หรือ/และการตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะร่วมด้วย
การพยาบาล
-ระวังการอุดตันของทางเดินหายใจขณะชัก
-จัดสิ่งแวดล้อมสงบ ป้องกันอุบัติเหตุ
-เน้นการตรวจตามนัด
-ในระยะหลังคลอด ระวังการตกเลือด
-ย่นระยะที่ 2 ของการคลอด
-ประคับประคองจิตใจ
-ให้ยาระงับชัก & ลดความดันโลหิต
-ตรวจ reflex
-ตรวจ albumin ในปัสสาวะ
-บันทึกอาการบวม & ชั่งนน.
-ให้ O2, NPO
-record V/S, I/O, FHS
แนวทางการรักษา
ให้ยาระงับประสาท : Phenobarbital
ให้ยาลดความดันโลหิต : Hydralazine
ให้ยาขับปัสสาวะ ในรายที่บวมมาก ปอดบวมน้า
ให้ยาป้องกันการชัก เมื่อพบว่ามี Reflex ไวมาก : MgSo4
ข้อควรระวัง
•ต้องมี deep tendon reflex อยู่
•อัตราการหายใจไม่น้อยกว่า 14-16 ครั้ง/นาที
•ปัสสาวะมากกว่า 25 cc/hr. •มี 10%แคลเซียมกลูโคเนต (เป็น antidote) เตรียมไว้
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
1.หัวใจทำงานล้มเหลว
2.อันตรายจากภาวะช๊อค ทำให้เกิดการบาดเจ็บ
3.ไตวายเฉียบพลัน
4.น้ำคั่งในปอด
5.ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
6.ความผิดปกติของตา อาจพบภาวะตาบอด
7.ตับแตกจากภาวะ Subcapsular hematoma และ HELLP syndrome
8.การคลอดก่อนกำหนด
9.รกลอกตัวก่อนกำหนด
10.การแท้งบุตร
11.การหลับเป็นความดันโหิตสูงซ้ำอีกในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ทารก
1.ทารกเจริญเติมโตช้า
2.ทารกเกิดภาวะขาดออกซินเจน
3.ทารกคลอดก่อนกำหนด
4.ทารกเสียชีวิตในระยะแรกเกิด
5.ทารกเสียชีวิตในครรภ์เฉียบพลัน
การตั้งครรภ์แฝด
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีทารกมากกว่า 1 คนขึ้นไป การเรียกชื่อจึงแตกต่างกันออกไปแล้วแต่จำนวนทารก ได้แก่ แฝดคู่ (Twins) แฝดสาม (Tripletd) แฝดสี่ (Quadruplets) เป็นต้น
สาเหตุ
เชื้อชาติ : ผิวดำพบมากที่สุด รองลงมาผิวขาว พบน้อยในผิวเหลือง
พันธุกรรมของมารดา
อายุและการตั้งครรภ์ของมารดา
ยาบางอย่างที่ใช้กระตุ้นให้ตกไข่ในรายที่มีบุตรยาก
รูปร่างและโภชนาการของมารดา
ปัจจัยอื่นๆ : ความสูง สภาพภูมิอากาศ
ชนิดของครรภ์แฝด
Monozygotic, Homologous , Identical twinsเกิดจากไข่ใบเดียวกันเป็นเพศเดียวกันรูปร่างหน้าตาลักษณะทางกรรมพันธุ์เหมือนกัน
1.1 แบ่งตัวภายใน 3 วันหลังปฏิสนธิ (diamnion, dichorion, รก 2อันอาจติดกัน)
1.2 แบ่งตัวภายใน 4-8 วันหลังปฏิสนธิ (diamnion, monochorion, รก 1อัน)
1.3 แบ่งตัวภายใน 9-13วันหลังปฏิสนธิ
(monoamnion, monochorion, รก 1อัน)
1.4 แบ่งตัวหลังจาก 9วันหลังปฏิสนธิ
(แฝดติดกัน) อยู่ในถุงน้าคร่าเดียวกัน
Dizygotic, Heterologous , Fraternal twins เกิดจากไข่2 ใบเพศเดียวกันหรือคนละเพศ(diamnion, dichorion, รก 2อัน)
2.1 คนละรอบเดือน (Different or subsequent cycle) โดยมีการตกไข่ข้างเดียว หรือคนละข้าง ไข่ใบแรกมีการปฎิสนธิจนฝังตัวเรียบร้อย ในรอบเดือนถัดไปยังมีไข่ตกอีกและมีการปฎิสนธิอีกแล้วยังฝังตัวได้อีก เรียกว่า Superfetation
2.2 รอบเดือนเดียวกัน (Same cycle) โดยมีการตกไข่จากรังไข่ทั้ง 2 ข้างหรือข้างเดียวแต่2 Follicles ซึ่งไข่ทั้ง2ใบคงไม่ตกพร้อมกัน แต่จะจกไข่ในเวลาไล่เลี่ยกัน หรืออาจจะตกไข่จาก Follicle เดียวกัน แต่ภายในมีไข่2ใบ สำหรับการปฎิสนธิกับเชื้ออสุจินั้นอาจเป็นชุดเดียวกันก็ได้ เรียกว่า Superfecundation
ท่าของทารกในครรภ์
การวินิจฉัย
ประวัติ ครอบครัวมีประวัติตั้งครรภ์แฝด ตั้งครรภ์อายุมาก ตั้งครรภ์หลายครั้ง
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
น้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์สูงขึ้น
บวม โดยเฉพาะขา
ขนาดมดลูกโตมากกว่าระยะขาดประจำเดือน
คลำพบได้ Ballottement หรือคลำได้ทารกมากกว่าหนึ่งคน
คลำได้ส่วนเล็ก มากกว่าธรรมดา
คลำได้ส่วนใหญ่ สามแห่งหรือมากกว่า
พบมีครรภ์แฝดน้ำ
ฟังเสียงหัวใจได้มากกว่า2ตำแหน่ง อยู่ห่างกันคนละด้ายน
การถ่ายภาพรังสี
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ระยะคลอด ศีรษะเด็กเปื่อยยุ่ยหรือสายสะดือย้อยไม่มีชีพจรแล้ว
อาการและอาการแสดง
-อาจมีอาการแพ้ท้องมาก
-แน่นอึดอัด หายใจเร็ว
-รู้สึกเด็กดิ้นมากผิดปกติ
-เท้าอาจบวม
ลักษณะทางคลินิค
-เพศเด็ก
-การตรวจรกและเยื่อถุงน้าคร่า
-การตรวจหมู่เลือด
-การตรวจพิมพ์ลายนิ้วมือและนิ้วเท้า
-การทาreciprocal skin grafts
-การเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ
ภาวะแทรกซ้อน
ระยะตั้งครรภ์
มารดา:Placenta previa, Pre-eclampsia, Premature labor, Anemia, Hydramnios, PROM, Abruptio placenta, Abnormal position/presentation การคลอดติดขัด/ยืดเยื้อ
ลูก: ความผิดปกติแต่กาเนิด,แท้ง,IUGR, Polycythemia,
fetal hydrop,ภาวะหัวใจล้มเหลว, Fetal death in utero
ระยะคลอด
มารดา : การคลอดกินเวลานาน,ถุงน้าคร่าแตกก่อนเวลา,การคลอดยาก,รกลอกตัวก่อนเวลา,ตกเลือด,prolapsed cord
ลูก: ทารกคลอดก่อนกาหนด,ได้รับอันตรายจากการ คลอดผิดปกติ,การขัดเกี่ยวกันของแฝดสอง
ระยะหลังคลอด
มารดา : ตกเลือดหลังคลอดมดลูกเข้าอู่ช้า มีน้านมไม่เพียงพอการติดเชื้อหลังคลอด
การดูแลรักษา
ระยะตั้งครรภ์
1.แนะนาฝากครรภ์อย่างสม่าเสมอ
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เสริมวิตามิน หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีรสเค็ม
การทางานและพักผ่อนให้มาก
การทาจิตใจให้สบาย ผ่อนคลาย
งดการมีเพศสัมพันธ์และกระตุ้นเต้านม
สังเกตอาการผิดปกติ
ระยะคลอด
เตรียมเลือด
ตรวจท่าของทารกในครรภ์เพื่อช่วยเหลือการคลอด
เตรียมการคลอดปกติ
ระมัดระวัง prolapsed cord
NPO
6.ใช้สูติศาสตร์หัตถการเมื่อมีข้อบ่งชี้
ตัดฝีเย็บให้กว้างพอ
ระยะเวลาที่คนที่ 1และ 2คลอด 15-20นาที
Clamp สะดือทันทีที่คนที่ 1คลอด
ห้ามใช้ยาที่ทาให้มดลูกหดรัดตัว ก่อนคนที่ 2คลอด
ดูการฉีกขาดและรีบเย็บ
ให้ยา ergot หรือ oxytocin
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
ให้มารดาพักผ่อนเพียงพอ
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ธาตุเหล็กทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป
ช่วยเหลือให้มีการปรับตัวที่เหมาะสม การเลี้ยงบุตร