Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง(Febrile convulsion)
อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้ที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
complex febrile seizure
สาเหตุ
ภาวะชักจากไข้สูง
อาการและอาการแสดง
เด็กจะตัวร้อน หน้าแดง มึนงง สับสน กระสับกระส่าย
ร้องกวน มีอาการชักจะตัวแข็ง ชักเกร็ง กระตุกทั้งตัว
การรักษา
ระยะที่มีอาการชัก
ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด
ให้ยาลดไข้ร่วมด้วย
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด
ให้ยาป้องกันการชัก
การพยาบาล
1.วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
2.เช็ดตัวลดไข้
3.จัดท่านอนตะแคงศีรษะต่ำกว่าลำตัว ดูดเสมหะถ้ามีเสมหะ
4.ไม่ผูยึดเด็กหรือจับเด็กขณะมีอาการชักเพราะอาจเกิดข้อไหล่หลุดหรือกระดูกหัก
5.ไม่ใส่ไม้กดลอ้นเข้าไปในปากเด็ก
6.ระมัดระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขณะชัก
7.สังเกตและบันทึกระยะเวลาของการชักลักษณะการชัก
โรคลมชัก(Epilepsy)
ชนิดของอาการชัก
1.Generalizes sezure
1.1Tonic seizure
1.2 Clonic seizure
1.3Tonic clonic seizure
1.4 Atonic seizure
1.5Myoclonic seizure
1.6Absence seizure
1.7Infantile spam
2.Partail seizure
Simple partial seizure
2.2Complex partial seizure
2.3Partial seizure evolving
3.Unclassified epileptic seizure
สาเหตุ
เกิดจากการมีรอยโรคในเนื้อสมอง
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยคลื่นไฟฟ้าสมอง(Electroencephalography)
การรักษา
ให้Diazepam 0.2-0.4 มก./กก./นาทีทางหลอดเลือดดำ
ยากันชัก
1.Benzodiazepine
2.Phenobarbital
3.Phenytonin
4.Valproic acid
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากชักเป็นเวลานาน
2.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากมีอาการชัก
3.บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการชักของผู้ป่วยเด็ก
4.บิดามารดาขาดความรู้ในการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมชัก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อไวรัส
พยาธิ
เชื้อรา
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงว่ามีการติดเชื้อ
ปวดศีรษะมาก ซึมลง
อาการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง
Kernig's sign ได้ผลบวก
Brudzir
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
รักษาตามอาการให้ยาลดไข้
การป้องกีนควรฉีด Hib vaccine
ไข้สมองอักเสบ(Encephalitis)
เนื้อสมองผิดปกติอาจเกิดจากการติดเชื้อ
1.Primary viral encephalitis
ไวรัสที่นำโดยแมลง โดยเฉพาะไข้สมองเจอี
2.Secondary viral encephalitis
เช่น ไวรัสหัด ไวรัสหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
เชื้อไวรัสทำให้เกิดการคั่งของ lymphocyte ในเนื้อสมองและเยื่อหุ้มสมองทำให้เกิดภาวะสมองบวม
การวินิจฉัย
ตรวจน้ำไขสันหลังจะพบว่าน้ำไขสันหลังใส ไม่มีสี มีเม็ดเลือดขาว 10-100เซลล์
การรักษา
1.การให้ยากันชัก
2.ยาต้านจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ
การป้องกัน
1.การฉีดวัคซีน
2.หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อโรคหรือพาหะ
โรคสมองพิการ(Cerrebral Palsy)
ความบกพร่องของสมองส่วนที่ใช้ควบคุมกล้ามเนื้อทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทางการทรงตัวการเคลื่อนไหว
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด
การมีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วงระว่างดือนที่ 6- 9
มารดามีภาวะชักหรือภาวะปัญญาอ่อน
ระยะคลอด
สมองขาดออกซิเจน
รกพันคอ
คลอดท่าก้น
ระยะหลังคลอด
การกระทบกระเทือนที่ศีรษะ
ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด
เส้นเลือดที่สมองมีความผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
กลุ่มเกร็ง(Spastic)
มีกล้ามเนื้อเกร็งเคลื่อนไหวช้า ขาอาจมีอาการมากกว่าแขน
กลุ่มเคลื่อนไหวผิดปกติ(Dystomia)
ไม่สามารถตวบคุมให้อยู่นิ่งๆ สีหน้าคอบิด แขนงอ เหยียดเปะปะ
การรักษา
1.ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
2.การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อ แขน ขา
3.การให้ early stimulation
4.การแก้ไขความผิดกติของการรับรู้ที่สำคัญ
5.การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
6.การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวัน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.การเคลื่อนไหวของร่างกายบกพร่องเนื่องจากมีความบกพร่องของระบบประสาท
2.ขาดการดูแลตนเองเนื่องจากความบกพร่องทางด้านร่างกาย
3.ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกายเนื่องจากปัญหาการให้อาหารและความบกพร่องทางร่างกาย
ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง(Hydrocephalus)
หมายถึง
ภาวะที่มีน้ำคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะบริเวณเวนติดเคิล
สาเหตุ
1.การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
2.การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
3.ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
1.ศีรษะโต/หัวบาตร
2.เด็กที่กระหม่อมยังไม่เปิดพบว่ากระหม่อมโป่งตึงกว่าปกติ
3.หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำที่บริเวณใบหน้า
4.เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
5.อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
6.ตาทั้ง2ข้างกรอกลงข้างล่าง
7.ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน
8.รีเฟลกซ์และ tone ของขา2ข้างไวกว่าปกติ
9.พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
CT Scan
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง
V-O Shunt
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง(Diamox)
สไปนา ไบฟิดา(Spina Bifida)
เป็นความผิดปกติของท่อระบบประสาทที่เจริญไม่สมบูรณ์
สาเหตุ
สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบ แต่อาจเกิดจากมารดาติดเชื้อไวรัสในขณะตั้งครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การพยาบาล
1.จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
2.ไม่นุ่งผ้าอ้อม
3.ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื้น ระวังเกิดแผลติดเชื้อ
4.หมั่นตรวจสอบการฉีกขาด รั่ว
5.ประเมิณการติดเชื้อ
กลุ่มอาการดาวน์(Down'Syndrome)
เป็นความผิดปกติทางโครโมโซมคู่ที่ 21 และเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดในกลุ่มโรคพันธุกรรมที่ทำให้เกิดปัญญาอ่อน
มีโอกาสเสี่ยงสูงขึ้นถ้ามารดามีอายุมากกว่า 30 ปี และจพสูงขึ้นชัดเจนมากถ้าอายุมากกว่า 35 ปี
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
หัวแบนกว้าง
คอสั้น
หูติดอยู่ต่ำ
Brush field spot
ปากอ้า และลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้าง และสั้น มักจะมี simian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
ดส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่าปกติและพบdistal triradius
ทางเดินอาหารที่พบบ่อยคือ duodenum stenosis
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัยตั้งแต่อายุยังน้อย
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย คือ โรคหัวใจ ระบบทางเดินอาหารอุดตัน
การให้คำปรึกษาด้านพันธุกรรม
Guillain Barre's Syndrome
กลุ่มอาการของโรคที่เกิดจากการบวมอักเสบของระบบประสาทส่วนปลายหลายๆเส้นอย่างเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
1.Sensation
เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ และปวด โโยเฉพาะปลายแขนปลายขา ไหล่ สพโพก และโคนขา
สูญเสีย reflex
2.motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ทั้งสองข้างสมดุลกัน อาการอัมพาตใน GBS จะเริ่มต้นที่ขา เดินลำบาก
3.อาการของประสาทสมอง
โดยเฉพาะส่วนใบหน้าประสาทสมองคู่ที่ 7พบความผิดปกติบ่อยที่สุด มีอัมพาตของหน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
4.อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
ส่วน medulla oblongataที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะสำคัญและเส้นประสาท Vagus เกิดความผิดปกติร่วมด้วย
การรักษา
1.การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
2.การรักษาด้วยIntravenous Immunglobulin(IVIG)
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันและต่อเนื่อง
Check vital โดยเฉพาะ RRต้องมีการตรวจ vital capacity,tidal volume
ให้ออกซิเจนถ้ามีภาวการณ์หายใจไม่พอจำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจพร้อมเครื่องช่วยหายใจ
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหวกำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหารเนื่องจากผู้ป่วยจะมีน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจส่งเสริมการมองโลกในแง่ดี