Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่ป่วยเป็นมะเร็ง - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่ป่วยเป็นมะเร็ง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute lymphoblastic leaukemia)
เเบ่งเป็น
AML (Acute myelogenous leukemia)
พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก เเละพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
CLL (Chronic lymphocytic leukemia)
พบในผู้ใหญ่ ยิ่งอายุมากยิ่งเสี่ยงมาก
ALL (Acute Lymphoblastic Leukemia )
พบในทุกช่วงวัย ทั้งเด็กเเละผู้ใหญ่ พบบ่อยในเด็ก 2-5 ปี
CML (Chronic myelogenous leukemia)
พบได้น้อย พบได้ทุกวัย เเต่พบบ่อยในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ในฝาแฝดที่เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด ALL
ในครอบครัวที่มีสมาชิกป่วเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด ALL
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม
ปัจจัยด้านสิ่งเเวดล้อม
การสูบบุหรี่/ควันบุหรี่
สัมผัสสารเคมีบางชนิด
มีประวัติได้รับรังสี Ionizing radiation
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษามะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การวินิจฉัย
การเจาะเลือดตวรจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเซลล์เม็ดเลือดขาว
การเจาะไขกกระดูก Bone marrow transplanted
อาการเเละอาการเเสดง
อาการเบื้องต้น
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลีย
เลือดออกง่าย เนื่องจากจากมีเกร็ดเลือดต่ำ
เช่น
จ้ำเขียวขึ้นตามตัว
ประจำเดือนมามากกว่าปกติ
เลือดออกตามไรฟัน
มีเม็ดเลือดขาวชนิดตัวอ่อนปริมาณมาก
คลำพบก้อนที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ หรือมีตับ ม้ามโต
Leukemia
หมายถึง
มะเร็งของระบบเลือด
เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิด ที่อยู่ในไขกระดูก
ทำให้
จำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
อัตราการสร้างเม็ดเลือดเเดงเเละเกร็ดเลือดลดลง
เชลล์ตัวอ่อนไม่สามารถ differentiate ไปเป็นตัวเเก่ได้
อาการเเสดง
ซีด
เลือดออก
ติดเชื้อง่าย
คือ
การเจริญที่ผิดปกติของเซลล์ พบบ่อยในเด็ก โดยพบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
มะเร็งไต (Nephroblastoma)
คือ
ภาวะที่เนื้อไตชั้น Parenchyma มีการเจริญผิดปกติ เนื้องอกร้ายเเรง พบบ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
ต้นกำเนิด
เนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) ในช่องท้อง
เซลล์ของระบบประสาท (Neural crest)
อาการเเละอาการเเสดง
มีก้อนในช่องท้อง ท้องโต ปวดท้อง คลำพบก้อนที่ต้อม หมวกไตตำเเหน่งเเรก
อาการอื่นๆ
มีไข้
ปวดกระดูก
ตาโปน มีรอยช้ำรอบตา
*มีอัตราการตายสูง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
อาการเเละอาการเเสดง
ระยะเริ่มต้น
มีไข้ หนาว สั่น คันทั่วร่างกาย เหงื่อออกตอนกลางคืน
คลำพบก้อนบรืเวณต่างๆ เช่น คอ รักเเร้ ขาหนีบ หรือเต้านม ไม่มีอาการปวดหรือเจ็บ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ปวดศีรษะ เนื่องจากเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อมทอนซิลโต
ระยะลุกลาม
ซีด เลือดออกง่าย มีจ้ำเลือดตามตัว
ท้องโต เเน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย เนื่องจากต่อมน้ำเหลืองโตในช่องท้อง
การวินิจฉัย
CT scan
MRI
ตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ
Bone scan
ตรวจไขกระดูก
PET scan
เเบ่งเป็น
Non-hodgkin lymphoma
อาการจะเร็วเเละรุนเเรง
มีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt lymphoma
เเพร่กระจายในเนื้อเยื่อ
ก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก พบเฉพาะที่
ช่องท้อง
รอบกระดูกขากรรไกร
ต้นกำเนิดมาจาก B-cell
Hodgkin lymphoma
จะพบต่อมน้ำดหลืองโตมาเป็นปี
พบ Reed-sternberg cell
ไม่มีอาการเจ็บปวด
การรักษา
การฉายรังสี (Radiation Therapy)
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด (Transplantation)
การใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
บริเวณที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด (chemotherapy)
ระยะการรักษา
ระยะชักนำให้โรคสงบ (Induction phase)
ให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาสั้น เเละส่งผลต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด ระยะ 4-6 สัปดาห์
ระยะให้ยาเเบบเต็มที่ (Intensive or consolidation phase)
ให้ยาหลายชนิดร่วมกัน เพื่อทำลายเซลล์ให้เหลือน้อยที่สุด
ระยะเวลาในการให้ยา 4 สัปดาห์
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
ป้องกันไม่ให้ลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีเกร็ดเลือดต่ำ ตับ ม้ามโต
ระยะควบคุมโรคสงบ (Maintenance phase)
ให้ยาเพื่อควบคุม เเละรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่นิยมใช้
6-MP ร่วมกับการให้ Metrotrexate
การรักษาเเบบประคับประคอง
เเบ่งออกเป็น 2 เเนวทาง
การรักษาทดเเทน(Resplacement therapy)
ในระยะก่อนโรคสงบ ให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 g/dl
การรักษาด้วยการให้เกร็ดเลือด
ในกรณีที่ผู้ป่วยมีเลือดออก จำนวนเกร็ดเลือดต่ำ จะช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยได้สูง
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด
Intramuscular (IM)
ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อ *ระวังเลือดออก
Intravenous (IV)
ฉีดยาเข้าทางหลอดเลือด *ระวังยารั่วออกนอกหลอดเลือด
Intrathecal (IT)
ฉีดเข้าทางไขสันหลัง
ตัวอย่างยาเคมีบำบัด
Methotrexate
Mercaptopurine (6-MP)
L-asparaginase
Cyclophosphamide/Ifosfamind
การพยาบาลที่ได้รับยาเคมีบำบัด
การรั่วซึมของยาออกนอกหลอดเลือด
ปัจจัยที่ทำให้เกิดความรุนเเรง
ความเข้มข้นของยาเคมีบำบัด
ปริมาณที่รั่ว
ชนิดของยาเคมีบำบัด
การดูเเล
ประคบเย็น ครั้งละ 20 นาที วันละ 4 ครั้ง ใน 1-2 วันเเรก
อาการเเสดง
ปวด บวม เเสบร้อน
เกิดการทำลายเนื้อเยื่อรอบๆเส้นเลือด
Bactrim
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
Ondasetion (onsia)
ป้องกันการคลื่นไส้ อาเจียน