Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, นางสาวณัฐณิชา คำสุวรรณ เลขที่26…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
(acute lymphoblastic leaukemia)
พบบ่อยสุดในเด็ก ช่วงอายุ 2-5 ปี
ความหมาย
เกิดจากความผิดปกติของ stem cell ใน bone marrow แบ่งตัวผิดปกติ ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์แก่ได้
ส่งผลให้มีจำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วร่างกาย ทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
ผู้ป่วยจะมีอาการซีด เลือดออก ติดเชื้อง่าย
แบ่งป็น 2 ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
ส่วนใหญ่พบ B-cell lymphoblastic leukemia
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL (Acute
lymphoblastic leukemia หรือ Acute lymphocytic
leukemia หรือ Acute lymphoid leukemia
พบในทุกช่วงอายุ แต่พบมากสุดในช่วงอายุ 2-5 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML (Acute
myelogenous leukemia หรือ Acute myeloid leukemia )
พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก พบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL (Chronic lymphocytic
leukemia )
พบบ่อยในผู้ใหญ่ ความชุกมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML (Chronic myelogenous leukemia หรือ Chronic myeloid leukemia หรือ Chronic myelocytic leukemia
พบได้น้อย พบได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เด็กประมาณ 80% มักพบในอายุมากกว่า 4 ปี
สาเหตุ
ส่วนใหญ่ไม่ทราบแน่ชัด มีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
พันธุกรรม
เด็กที่เป็น (Down’s syndrome) มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ALLและAML มากกว่าคนปกติ
สมาชิกครอบครัวเป็น ALL มีโอกาสเป็นสูง 2-4 เท่า
สิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์ (Ionizing radiation)
มีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด โดยเฉพาะสารเบนซิน (Benzene) สารฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde)
อาจเกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อมหรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
อาการ
อาการแรก คือ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลีย
เลือดออกง่าย จากเกล็ดเลือดต่ำ
มีเม็ดเลือดขาวที่เป็นตัวอ่อนมาก ต่อสู้โรคไม่ได้ ติดเชื้อง่าย
เม็ดเลือดขาวไปเบียดบังอวัยวะต่างๆ หรือไม่สะสมตามอวัยวะต่างๆทำให้มีก้อน
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว
เจาะCBC เจอ blast cell
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
คือ
ประกอบประด้วยอวัยวะที่เกี่ยวกับน้ำเหลือง
ได้แก่ ม้าม,ไขกระดูก, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส
ทำหน้าที่นำสารอาหาร และนำเซลล์เม็ดเลือดขาวไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ(Cervical Lympnode)
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma) พบ Reed-Sternberg cell ซึ่งไม่มีในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดอื่น อาการเร็วรุนแรง อาจมีก้อรช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก
มักพบเฉพาะที่ เช่น ในช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
การวินิจฉัย
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
การตรวจไขกระดูก
CT scan
MRI
Bone scan
PET scan เป็นการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร
อาการ
เริ่มต้นที่พบบ่อย
คลำพบก้อนบริเวณที่มีต่อมน้ำเหลือง แต่ไม่เจ็บ
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
ระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย เช่น จุดเลือดออกตามตัว จ้ำเลือด
ในรายที่เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเกิดขึ้นภายในช่องท้อง
ผู้ป่วยจะมีอาการแน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย ท้องโตจากการมีน้ำในช่องท้อง
การรักษา
การใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี(Radiation Therapy)
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
มะเร็งไต Wilm Tumor หรือ Nephroblastoma
หมายถึง
เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา เจริญผิดปกติกลายเป็นก้อนเนื้องอก
ไม่ให้คลำบ่อย ก้อนอาจแตก อาจแพร่กระจาย
เนื้องอกชนิดร้ายแรงพบบ่อยในเด็ฏอายุน้อยกว่า 5 ปี
เป็นเนื้องอกที่มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest)
สามารถเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
อาการ
อาการนำมาพบแพทย์
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
อาการอื่นๆ ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา ไข้ ปวดกระดูก
พบก้อนครั้งแรกมากสุด คือ ต่อมหมวกไต
การตอบสนองต่อการรักษาไม่ดี
อัตราการตายสูง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Chemotherapy
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
ให้ยาทำลายเซลล์ในเวลาสั้น มีอันตรายต่อเซลล์น้อยที่สุด
ใช้เวลา 4-6 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Vincristine
Adriamycin
L – Asparaginase
Glucocorticoid
ระยะให้ยาแบบเต็มที่
(intensive or consolidation phase)
หลังสงบแล้ว 4 สัปดาห์
การให้ยาหลายชนิดร่วมกัน
ทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด
ยาที่ใช้
Metrotrexate
6 – MP
Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
ป้องกันไม่ให้ลุกลามสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
มักมีโอกาสกลับเป็นซ้ำ
ยาที่ใช้
Metrotrexate
Hydrocortisone
ARA – C
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or
continuation therapy
ให้ยาควบคุม รักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่ใช้
การให้ 6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับ
การให้ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
แบ่งเป็น 2 แนวทาง
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
การให้เลือด
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
ถ้าผู้ป่วยมีเลือดออกเกร็ดเลือดต่ำ จำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อนให้ยา
วิธีให้ยาเคมีบำบัด
ช่องไขสันหลัง IT
IM ระวังเลือดออก หลังฉีด
IV ระวังการรั่วของยา
ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง
ตัวอย่างยาที่ใช้บ่อย
Cyclophosphamide และ Ifosfamide
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว โดยออกฤทธิ์จับหรือรวมตัวกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง (Cross link) ทำให้เพิ่มจำนวนไม่ได้
ระวังการตกค้างของยาในกระเพาะปัสสาวะ เกิดHemorrhagic cystitis
หลังให้ต้องตรวจ U2A ดู RBC ในปัสสาวะให้สารน้ำที่มากพอ
ร่วมกับยา Mesna ป้องกันการเกิดเลือดออก
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemia โดยยับยั้งการสร้าง DNA และ RNA
มีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
มักจะเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตับ ติดตามค่า Liver function Test และ Acute renal failure(ARF)
ติดตามการทำงานของไต BUN Cr.
ทำให้คลื่นไส้อาเจียน เยื่อบุปากอักเสบ
Mercaptopurine(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันโดย
ยับยั้งการสร้าง Purine
ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิกของ cell มะเร็ง
ยานี้ผู้ป่วยได้กลับไปรับประทานที่บ้าน
L-asparaginase
รักษาโรคมะเร็ง ALL
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาสูงมาก Anaphylaxis
จึงต้อง Test dose ก่อนให้ยา
ยามีผลต่อตับอ่อน ต้องดูน้ำตาลในปัสสาวะ
Ondasetron(onsia)
ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
Bactrim
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
การเกิดการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดออกนอกหลอดเลือด ปวด บวม แดง ร้อน
การปะคบเย็น ครั้งละประมาณ 20 นาที ทำซ้ำอย่างน้อยวันละ4 ครั้ง ในช่วง 1-2 วันแรกหรือตามแผนการรักษา
นางสาวณัฐณิชา คำสุวรรณ เลขที่26 62111301027