Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่11 จิวิทยาบุคลิกภาพ - Coggle Diagram
หน่วยที่11 จิวิทยาบุคลิกภาพ
ควาวหมายและความสำคัญ
ความหมาย
คุณลักษณะองค์รวมทั้งภายในและภายนอกที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน และสามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยกระบวนการปรับตัวตามสถานการณืและสิ่งแวดล้อมที่เผชิญเพื่อดำรงชีวิต
ความสำคัญ
รู้จักและเข้าใจตน
การรู้จักและเข้าใจบุคคลอื่น และการยอมรับความแตกต่าง
การรู้สึกมีคุณค่า มีความหมาย และเกิดความมั่นใจในตนเอง
การได้รับความยอมรับจากกลุ่มและสังคม
จิตวิทยาบุคลิกภาพมามารถทำนายพฤติกรรมได้
ปัจจัย
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
ประสบการณ์ร่วม
วัฒนธรรม
วิ๔ีชีวิต
ความเชื่อ
ประสบการณ์เฉพาะ
จากการอบรมสั่งสอน
ทฤษฏี
1.กลุ่มทฤษฏีจิตวิเคราะห์
จิตวิเคราะห์
จิตวิทยาปัจเจกบุคคล
จิตวิเคราะห์ร่วมสมัย
2.กลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฏี
การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การเรียนรู้จากตัวแบบ
แนวคิดร่วม
ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าภายนอก
เน้นการเสริมแรง
เชื่อว่าบุคลิกภาพและพฤติกรรมเกิดจากการสังเกตตัวแบบ
บุคลิกภาพของบุคคลสามารถยืดหยุนและปรับตัวได้
สนใจบุคลิกภาพที่สามารถสังเกตุได้ชัดเจน
3.กลุ่มทฤษฎีมนุษยนิยม
ทฤษฎี
ลำดับขั้นความต้องกการ
ตัวตน
แนวคิด
สนใจศึกษาบุคลิกภาพอย่างเป็นองค์รวมในกระบวนการทำงาน
มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีกว่าเสมอ
เน้นการทำความเข้าใจธรรมชาติและความเป็นตัวตนของบุคคลนั้นๆ
เน้นความเป็นปัจเจกบุคลและความดี
มีการผสมผสสานร่วมกันของแนวคิดเรื่องศาสนาและปรัชญา
4.กลุ่มทฤษฎีเทรท
ทฤษฎี
ลักษณะนิสัยของเฮนรี เอ เมอร์เร่ย์
เชื่อว่าบุคคลแต่ละคนมีคุณลักษณะโดดเด่น
ลักษณะนิสัยของกอร์ดอน เอ็ม. อัลล์พอร์ท
เน้นความแตกต่างระหว่างบุคล
วิเคราะห์องค์ประกอบ
เน้นการวัดบุคลิกภาพของชีวิตประจำวัน
5.กลุ่มทฤษฎีปัญญานิยม
โครงสร้างความคิดของบุคคล
การบำบัดแบบพิจารณาอารมณ์
บุคคลิกที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนในสถานศึกษา
ผิดปกติ
ชนิดแยกตัว
ต่อต้านสังคม
เรียกร้องความสนใจ
พึ่งพาคนอื่น
ยำ้คิดย้ำทำ
หลีกเลี่่ยง
ไม่เหมาะสม
ก้าวร้าว
ไม่เชื่อฟังครูผู้สอน
อ่อนไหวง่าย
ลักขโมย
อยู่ไม่นิ่ง
อื่นๆ