Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1.ทฤษฎีการปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม - Coggle Diagram
1.ทฤษฎีการปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม
ความเป็นมา
ผู้นำ
เกิดจากผู้นำสำคัญหลายคนมาศึกษาค้นคว้าทดลองจนสามารถสรุปเป็นทฤษฎี
วีวาน เปโตรวิช พาฟลาฟ
จอนห์น บี. วัตสัน
โจเซฟ โวลเป้
บี.เอฟ. สกินเนอร์
อัมเบิร์ต แบนดูรา
จอห์น ครัมโบลท์
พัฒนาการ
พัฒนาจากทฤษฎีการเรียนรู้
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
ตามแนวคิดว่า"พฤติกรรมของผู้รับบริการเป็นผลมาจากสิ่งแวดล้อมใหม่เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม"
แนวคิดและหลัการ
แนวคิด
มนุษย์เกิดมาด้วยความว่างเปล่า ไม่ดีหรือไม่เลว
มนุษย์สามารถคิดได้อย่างมีเหตุผลและสามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้
มนุษย์สามารถเรียนรู้และสร้างพฤติกรรมขึ้นใหม่ได้
พฤติกรรมของมนุษย์ต่างมีอิธิพลซึ่งกันและกัน
หลักการ
สร้างความคุ้นเคยและไว้วางใจ
เลือกเทคนิคที่สอดคล้องและเหมาะสมกับลักษณะปัญหา
ให้การปรึกษาที่ยึดหลักว่า "พฤติกรรมของมนุษย์เป็นสิ่งที่เรียนรู้และเปลี่ยนแปลงได้ "
ระบุพฤติกรรมที่เป็นปัญหาที่แท้จริงที่สามารถสังเกตและวัดได้
แนวปฏิบัติและประยุกต์
เป้าหมาย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ไปสู่พฤติกรรมที่พึงประสงค์
ให้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ
ช่วยป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
มุ่งแก้ปัญหาพฤติกรรมอย่างเฉพาะจกจงที่ต้องการ
มุ่งช่วยเหลือให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้สำเร็จและสามารถนำไปใช้ชีวิตประจำวันได้
ขั้นตอน
1.การระบุพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
สัมภาษณ์
ทำแบบสำรวจสอบถาม
การบันทึกความถี่พฤติกรรมด้วยผู้รับการปรึกษาเอง
การสังเกตุพฤติกรรม
เก็บข้อมูลจากการแสดงบทบาทสมมติ
2.ตั้งเป้าหมายในการปรึกษา
เป้าหมายให้ตรงกับความต้องการของผู้รับการปรึกาา
ผู้ให้การปรึกษามีความยินดีและเต็มใจ
เป้าหมายนั้นสามารถประเมินได้ว่าสามารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายได้หรือไม่ได้
3.การเลือกเทคนิค
4.การประเมินและยุติ
เทคนิค
การเสริมแรง
กำหนดพฤติกรรมเฉพาะเจาะจงว่าพฤติกรรมใดได้รับการเสริมแรง
พฤติกรรมที่เลือกสำหรับการเสริมแรงต้องสามารถปฏิบัติได้จริง
การจัดการเรียนรู้ทางสังคม
ตัวแบบมีความหลากหลายสอดคล้องความต้องการ
การให้เสริมแรงเมื่อทำได้ตามตัวแบบ
ก่อนให้ดูแลตัวแบบต้องเตรียมความพร้อมของผู้รับการปรึกษา
การประยุกต์ใช้
เทคนิคการเรียนรู้จากตัวแบบ
การสร้างแรงเสริม
การลดความหวาดระแวงอย่างเป็นระบบ
การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
บทบาท
พื้นฐานทั่วไป
เฉพาะ
การวัดและประเมินพฤติกรรมในช่วงเบื้องต้น
ค้นหาเทคนิค
ประเมินควมสำเร็จระหว่างกระบวนการ
ติดตามและประเมินผล