Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา เซลล์เจริญผิดปกติ 3-37208_transparent…
บทที่ 10
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
เซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
( acute lymphoblastic leaukemia)
ความพิเศษ
เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก
พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
การเจริญที่ผิดปกติของเซลล์
Leukemia
หมายถึง
มะเร็งของระบบโลหิต
เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิด(Stem cell) ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow)
ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
ส่งผลให้
จำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
อาการที่พบ
อาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ALL (Acute lymphoblastic leukemia)
พบได้ในทุกช่วงอายุ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
บ่อยที่สุดในเด็กอายุ 2-5 ปี
AML (Acute myelogenous leukemia)
พบได้ในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก
พบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
CLL (Chronic lymphocytic leukemia )
พบได้บ่อยในผู้ใหญ่
ความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
CML (Chronic myelogenous leukemia )
พบได้น้อย พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
สาเหตุของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
ในฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
ประมาณ 25%
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม
ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์ (Ionizing radiation)
จากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
อาการและอาการแสดง
อาการเบื้องต้น
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลีย
เลือดออกง่าย จากเกร็ดเลือดต่ำ
เช่น
มีจ้ำเขียวขึ้นตามตัว
มีประจำเดือนมากผิดปกติ
ออกตามไรฟัน
เม็ดเลือดขาวปริมาณมากแต่เป็นชนิดตัวอ่อน
มีก้อนขึ้นที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ หรือมีตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว
เจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
(Lymphoma)
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ(Cervical Lympnode)
ชนิดของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
Hodgkin Lymphoma
ไม่มีอาการเจ็บปวด
พบ Reed-Sternberg cell
ไม่มีในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดอื่น
พบต่อมน้ำเหลืองจะโตมาเป็นปี
Non-Hodgkin Lymphoma
อาการจะเร็วและรุนแรง
มีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
ลักษณะพิเศษ
ต้นกำเนิดมาจาก B-cell
แทรกกระจายในเนื้อเยื่อ
ก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก มักพบเฉพาะที่
ในช่องท้อง
รอบกระดูกขากรรไกร
การวินิจฉัย
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
ตรวจกระดูก (Bone scan)
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan)
ตรวจ PET scan เพื่อหาเซลมะเร็ง
ตรวจไขกระดูก
ตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา
อาการและอาการแสดง
อาการเริ่มต้น
คลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ เช่น คอ รักแร้ ขาหนีบ หรือเต้านม ไม่มีอาการเจ็บ
ปวดศีรษะ
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
อาการระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย เช่น จุดเลือดออกตามตัว จ้ำเลือด
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่เกิดขึ้นภายในช่องท้อง
แน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย ท้องโตขึ้น
แนวทางการรักษา
การฉายรังสี (Radiation Therapy)
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
การใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
มะเร็งไต Nephroblastoma
หมายถึง
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติ
เนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
มีต้นกำเนิดมาจาก
เซลล์ของระบบประสาท(Neural crest)
เนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
ต่อมหมวกไต(adrenal gland) ในช่องท้อง
อาการและอาการแสดง
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
อาการอื่น
มีไข้
ปวดกระดูก
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes)
ตำแหน่งที่พบก้อนครั้งแรก
ต่อมหมวกไต
อัตราการตายสูง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Chemotherapy
ระยะการรักษา
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
ให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุด
มีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด
ระยะเวลาในการให้ยา
4 – 6 สัปดาห์
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
ระยะเวลาในการให้ยา
ประมาณ 4 สัปดาห์
ให้ยาหลายชนิดร่วมกัน
เพื่อให้ยาทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
ป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ ตับม้ามโต
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase
ให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่นิยมใช้
6 – MP ร่วมกับการให้ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
แบ่งเป็น 2 แนวทาง
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
ให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล.
ระยะแรกก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
กรณี
ผู้ป่วยมีเลือดออก ,จำนวนเกร็ดเลือดต่ำ
ช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยได้สูง
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด
IM
ระวังเลือดออก
IV
ระวังการรั่วของยาออกนอกหลอดเลือด
IT
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
ตัวอย่างยาเคมีบำบัด
Cyclophosphamide และ Ifosfamide
ผลข้างเคียง
เกิด Hemorrhagic cystitis คือเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะ
แผนการรักษา
ให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำที่มากพอ Hydration ร่วมกับการให้ยา Mesna
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemia
กดการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
ยับยั้งการสร้าง DNA และ RNA
ผลค้างเคียง
เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตับ
ติดตามค่า Liver function Test
Acute renal failure(ARF)
เกิดอาการเคลื่นไส้ อาเจียน
เยื่อบุช่องปากอักเสบ
Mercaptopurine(6-MP)
การออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้าง Purine
ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิกของ cell มะเร็ง
L-asparaginase
โอกาสเกิดการแพ้ยาสูงมาก
มีผลต่อตับอ่อนในการรั่ง Insulin
น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
ตรวจดูน้ำตาลในปัสสาวะ
การพยาบาลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
สำคัญ
การรั่วซึมของยาเคมีบำบัดออกนอกหลอดเลือด
อาการ
ปวด แสบร้อน บวม
การทำลายเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆเส้นเลือด
ปัจจัยความรุนแรง
ชนิด
ความเข้มข้นของยาเคมีบำบัด
ปริมาณยาที่รั่ว
การดูแล
ดูแลคือการปะคบเย็น ครั้งละประมาณ 20 นาที
ทำซ้ำอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง ในช่วง 1-2 วันแรก
Ondasetron (onsia)
ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
Bactrim
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
เนื่องจาก
ผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
น.ส.นพวรรณ ดวงจันทร์ เลขที่34 รหัสนักศึกษา 62111301035