Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Development of the pharynx and larynx - Coggle Diagram
Development of the pharynx and larynx
🔥The gut tube formation : the foregut🔥
สัปดาห์ที่3-4 ส่วนของendoderm เกิดการfoldingของตัวอ่อน
ถ้าเกิด lateral folding จะทำให้ gut tube ม้วนตัวเข้าเป็นท่อตลอดแนวยาวลำตัว
ถ้าเกิด cephalocaudal folding จะทำให้เกิดพื้นที่ส่วนที่เป็น foregut,midgut,hindgut
ในตอนเริ่มแรกจะมี membrane มาปิดตรงหัวกับท้าย เป็นmembraneที่ไม่มีชั้นmesodermคั่น ในภายหลังจะฉีกออกไปกลายเป็นช่องปากและช่องทวารหนัก (oropharyngeal - cloacal membranes)
โดย primitive gut tube จะแบ่งได้เป็น 4 ส่วน
1 The pharyngeal gut : oropharynx membrane - laryngotracheal diverticulum
2 The reminder of the foregut
3 The mid gut
4 The hind gut
🔥The laryngeal foregut : the respiratory diverticulum🔥
มี
laryngeal groove
เกิดขึ้น (อยู่caudal ต่อ 4th pharyngeal pouches) ทำให้มีส่วนที่ยื่นออกมาทางด้านหน้าเรียกว่า
laryngotracheal diverticulum
จะมีการform septum โดนการชนของ 2 folds ซึ่งเรียกว่า
Tracheoesophageal folds
โดยเมื่อมาชนกันก็จะเรียกว่า
Tracheoesophageal septum
Esophagus
Larynx and trachea
Laryngeal inlet
Tracheoesophageal fistula (TEF)
มี 4 รูปแบบ
A. TEF with esophageal atresia at the superior part (พบบ่อยสุด)
อาหารเข้ามาไม่ได้ทำให้เด็กที่คลอดออกมาจะกลืนไม่ได้ สำลักนม และสำลักน้ำลาย มักจะพบบ่อยสัมพันธ์กับอาการ polyhydramnios เพราะเด็กไม่สามารถกลืนน้ำคร่ำได้
B-D other type of TEF (พบไม่บ่อย)
เนื่องจากมีช่องต่อระหว่างทางเดินอาหารและทางเดินอากาศทำให้มีโอกาสที่อาหารจะสำลักเข้าไปในทางเดินอากาศ ทำให้มีการระคายเคืองและเกิดอาการปอดอักเสบได้
🔥Pharyngeal apparatus : the lateral wall of the foregut🔥
Mesenchyme of the head region
Paraxial mesoderm
Lateral plate mesoderm
Neural crest cells
Ectodermal placodes
Endoderm of the pharynx
:fire:
Pharynx
:fire:
เชื่อมกับ nasal cavities, oral cavities, larynx และ esophagus
แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่
oropharynx
palatine tonsils
lingual tonsils
laryngopharynx
valleculae
piriform fossae
nasopharynx
ช่องเปิดของ pharyngotympanic tubes
pharyngeal tonsils (adenoids)
ผนังเป็น muscular walls 2 ชั้น
external layer : constrictor muscles
internal layer : palatopharyngeus, salpingopharyngeus, stylopharyngeus
ประกอบด้วย 9 cartilages ได้แก่
cartilage เดี่ยว
thyroid cartilage
cricoid cartilage
epiglottis
cartilage คู่
cuneiform cartilages
corniculate cartilages
arytenoid cartilage
membranes & spaces
quadrangular membrane มี vestibular ligament และพัฒนาไปเป็น vestibular folds
lateral thyrocricoid ligament มี vocal ligament และจะพัฒนาไปเป็น vocal folds
🔥The Larynx🔥
W.6 laryngeal cecum พัฒนาระหว่าง epiglottis and aryteniod swellings ยื่นออกมาทำให้เกิด vestibular outgrowth ตอนเกิด recanalization จะได้เป็น laryngeal ventricles ประกบ 2 ข้างของ vocal and vestibular folds
W.8 epithelial lamina เกิด recanalization จะได้
glottis (w.10)
communication ระหว่าง supraglottis, infraglottis, laryngeal ventricles
ถ้า recanalization ไม่เกิดหรือเกิดไม่สมบูรณ์ จะเกิด
supraglottic and infraglottic webs and atresia
laryngeal atresia
W.6-12 เกิด mesenchymal condensation รวมกันแล้วเกิด chondrification ได้เป็น laryngeal cartilages
-
Mesenchymal cell จาก pharyngeal mesoderm จะได้ thyroid, cricoid and paired aryteniod cartilages =
hyaline cartilage
Mesenchymal cell จาก mesoderm of the pharyngeal floor จะได้ other cartilages =
fibroelastic cartilage
Aryteniod cartilages ส่วน the voice process ที่ให้ vocal fold มาเกาะ =
elastic cartilages
🔥
Age changes
🔥
Epiglottis
3 ขวบหลังคลอด จะมีการเลื่อนลงมา และขนาดใหญ่เพิ่มขึ้น เพราะ mandible มีการขยายมากขึ้น
ก่อน 3 ขวบ epiglottis อยู่หลัง soft palate เลยต้องระวังอาจจะดูดนมพร้อมกันกันหายใจ เกิดการอุดกลั้นทางเดินหายใจได้
Larynx
Fetal period อยู่ช่วง C1-C3/4
At birth : C1-C4
Y.3 after birth : ลงมาจนถึง C4/5
Adult : C3-C6, with sexual dimorphism เช่น ผู้ชายมีลูกกระเดือกชัดกว่า แคบกว่า ใหญ่กว่า
Vocal fold
Sensitive to gonadal steriods จึงพัฒนาหลังคลอดช่วง puberty
ทำให้มีสัดส่วน fibrous protein distribution (collagen/elastin) ต่างกันในแต่ละเพศ
ตอน adult after 2nd decade
Calcification of thyroid, cricoid, arytenoid cartilages
(hyaline cartilage มีโอกาสเกิด calcification สูงกว่า
🔥Pharyngeal and laryngeal muscles🔥
Muscle precursor จาก paraxial mesoderm เคลื่อนตัวมารวมกลุ่มเป็น myoblast of 4th, 6th arches
จัดตัวเป็นวงรอบ 2 ชั้น
4th: outer layer ได้แก่
all pharyngeal muscles (Except stylopharyngeus (CN IX))
cricothyroid muscles ที่มาจาก inferior constrictor
✔️Nerve supply for 4th arches: superior laryngeal nerve(CN X)
6th: inner layer ได้แก่
intrinsic muscles of larynx
✔️Nerve supply for 6th arches: recurrent laryngeal nerve(CN X)
:fire:
Nasopharynx
:fire:
:check:
สัปดาห์ที่ 7-8
lateral palatine shelves จะขยายขนาดกลายเป็น secondary palate ซึ่งบริเวณส่วนด้านหน้าจะเกิดการ ossified เป็น hard palate ส่วนบริเวณด้านหลังจะเป็น soft palate ซึ่งไม่เกิดการ ossified
primitive choanae จะขยายขนาดและยืดยาวขึ้น
FNP + MNP / พื้นที่บริเวณ primitive choanae จะกลายเป็น nasal septum
hard palate และ nasal septum จะ fusion กันอย่างสมบูรณ์ในสัปดาห์ที่ 12
:check:
สัปดาห์ที่ 12
Nasopharynx จะอยู๋หลังต่อ definitive choanae
Oropharynx จะอยู่หลังต่อ soft palate
:fire:
The pharyngeal foregut : the respiratory diverticulum
:fire:
:check:
สัปดาห์ที่ 4
: Laryngeal groove ซึ่งอยู่บริเวณ caudal ต่อ 4th pharyngeal pouches จะเกิดการเจริญขึ้นกลายเป็น Laryngotracheal diverticulum
:check: สัปดาห์ที่ 5 : Tracheoesophageal folds เกิดการ fuse รวมกันกลายเป็น Tracheoesophageal septum ซึ่งจะกลายเป็น Larynx และ trachea, Esophagus, Laryngeal ซึ่งจะพัฒนาเป็น primitive glottis
:fire:
The laryngopharynx
:fire:
:check:
สัปดาห์ที่ 5
mesenchyme ที่อยู่ล่างต่อ Laryngeal groove จะเกิดการ proliferate ขึ้นกลายเป็นก้อนจำนวน 2 ก้อน เรียกว่า arytenoid swelling ซึ่งมีรูปร่างเป็น slit liked
หลังจากนั้นจะเปลี่ยนรูปล่างเป็น T-shaped like laryngeal inlet
ventral end ของ mesenchyme จาก 4th และ 6th pharyngeal arches จะมารวมกันและเกิดการ proliferate ขึ้นกลายเป็น hypopharyngeal eminence ซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ Rostral พัฒนาเป็น root of tongue และ Caudal พัฒนาเป็น epiglottis
mesenchyme ที่ ventral part ของ Laryngotracheal diverticulum จะเกิดการ proliferate กลายเป็น epithelial lamina หลังจากนั้นในสัปดาห์ที่ 6 primitive glottis จะหายไป