Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลเจริญผิดปกติ, image, image, image, image, image,…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลเจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ALL(Acute lymphoblastic leukemia)
พบได้ทุกช่วงอายุทั้งเด็กและผู้ใหญ่ แต่ส่วนใหญ่มักพบบ่อยในเด็ก อายุ2-5ปี
AML(Acute myelogenous leukemia)
พบบ่อยในผู้ใหญ่ และผู้ชายเป็นากกว่าผู้หญิง
CLL(Chronic lymphocytic leukemia)
พบบ่อยในผู้ใหญ่และมีความชุกของโรคเพิ่มขึ้นตามอายุ
CML(Chronic myelogenous leukemia)
พบได้น้อย ในผู้ป่วยเด็กร้อยละ80มักพบในช่วงอายุมากกว่า4ปี
ความหมาย
Leukemia เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิด(steam cell) ในไขกระดูก ที่ไม่สามารถdifferentiate ไปเป็นเซลล์แก่ได้
ส่งผลให้เซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และทำให้การสร้างเม็ดลือดแดง เกร็ดเลือดลดลง ผู้ป่วยจึงมีอาการซีด เลือดออก ติดเชื้อง่าย
แบ่งได้2ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia *ส่วนใหญ่มักพบชนิดนี้
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอนแต่มีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยทางพันธุกรรม
ครอบครัวที่มีคนป่วยเป็นALL มีความเสี่ยงสูงกว่าคนเท่าไป2-4เท่า
เด็กที่เป็นDown's syndrome เสี่ยงเป็นALL , AML มากกว่าคนปกติ
ในฝาแฝดที่เป็นALLจะทำให้ฝาแฝดอีกคนมีโอกาสเป็นได้ร้อยละ25
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
มีประวัติได้รับรังสีIonizing radiation เป็นรังสีที่ใช้ในการรักษาปริมาณสูง
มีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีบางชนิดที่เป็นพิษ เช่นบุหรี่ สารเบนซิน สารฟอร์มาลดีไฮด์ พบว่าคนกลุ่มนี้เสี่ยงต่อมะเร็งเม็ดเลือดขาวสูงกว่ากลุ่มอื่น
อาการแสดง
อาการแรกที่เป็น
เบื่ออาหาร ซีด น้ำหนักลด อ่อนเพลีย
เลือดออกง่าย เลือดออกตามไรฟัน มีจั้มเขียวตามร่างกาย
มีปริมาณเม็ดเลือขาวชนิดตัวอ่อนมาก ติดเชื้อได้ง่าย
เม็ดเลือดขาวไปสะสมอวัยต่างๆทำให้มีก้อนเกิดขึ้น เช่น ก้อนที่ขาหนีบ ขา คอ ตับม้ามโต
การวินิจฉัย
เจาะเลือดหาBlast cell
เจาะไขกระดูกดูความผิดปกติของการแบ่งเซลล์ในไขกระดูก
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
อวัยวะที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย
ม้าม ไขกระดูก ต่อมทอนซิล ต่อมไทมัส
หน้าที่
ความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวส่งผลให้เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
น้ำเหลืองมีหน้าที่นำสารอาหาร และเซลล์เม็ดเลือดขาวไปทั่วร่างกาย
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ
ชนิดของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
(Hodgkin Lymphoma)
พบต่อมโตเป็นปี ไม่มีอาการปวด ตรวจพบReed-Sternberg cell ซึ่งไม่มีในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดอื่น
(Non-Hodgkin Lymphoma)
อาการเร็วและรุนแรง มักมาโรงพยาบาลเมื่อเชื้อกระจายตัว ลักษณะคือพบก้อนที่ช่องท้อง ช่องอก ระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
มีต้นกำเนิดจาก B-cell มีการกระจายในเนื้อเยื่อ มักพบก้อนเฉพาะที่ เช่น อก ช่องท้อง รอบกระดูกขากรรไกร
การวิจฉัย
ตัดชิ้นเนื้อตรวจทางพยาธิวิทยา
ตรวจไขกระดูก
CT scan , MRI , PET scan(ตรวจหาเซลล์มะเร็ง)
ตรวจกระดูก
อาการแสดง
อาการเริ่มต้น
คลำพบก้อนบริเวณ คอ รักแร้ แต่ไม่มีอาการเจ็บต่างจากการติดเชื้อที่มักจะเจ็บที่มีก้อน
มีไข้ หนาวสั่น คันทั่วร่างกาย เบื่ออาหาร ไอเรื้อรัง ปวดศรีษะ น้ำหนักลด
อาการในระยะลุกลาม
ซีด เลือดออกง่าย เช่นมีจุดเลือดออกตามตัว จ้ำเลือด
ในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งในช่องท้อง มักจะมีอาการแน่นท้อง อาหารไม่ย่อย ท้องโต
การรักษาในปัจจุบัน
ยาเคมีบำบัด
ฉายรังสี
ปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด*ยากและค่าใช้จ่ายสูง
มะเร็งไต
หมายถึง
เนื้อไตชั้นพาเรนไคมามีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกในไต มักมีขนาดใหญ่ คลำได้ทางหน้าท้อง และเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
คำแนะนำ
ไม่ควรคลำบ่อย เพราะอาจทำให้ก้อนแตก หรือมีการแพร่กระจายของมะเร็ง
Neuroblastoma
เป็นเนื้องอกร้ายแรงพบได้ในเด็กอายุน้อยกว่า5ปี
มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาทเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ ได้แก่ ต่อมหมวกไต
อาการนำมาพบแพทย์
มีก้อนในท้อง ปวดท้อง ท้องโต ตาโปนมีรอยช้ำขอบตา
มีไข้ ปวดกระดูก
การตอบสนองต่อการรักษาไม่ดี อัตราการเสียชีวิตสูง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
3.ระยะป้องกันโรคเข้าสู่CNS
ให้ยาเพื่อป้องกันโรคลุกลามเข้า CNS เพราะผู้ป่วยหลังได้ยามักกลับเป็นซ้ำได้อีกโดยเฉพาะผู้ป่วยเกร็ดเลือดต่ำ
ยาที่ใช้Metrotrexate, Hydrocortisone และ ARA – C
การรักษาประคับประคอง
รักษาทดแทน
ด้วยการให้เลือดเพื่อรักษาระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า7-8กรัม/ดล.
รักษาด้วยเกร็ดเลือด
จะช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยได้สูง เพราะเกร็ดเลือดต่ำทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้เร็วไม่เกิน24ชั่วโมง
2.ระยะให้ยาเต็มที่
ให้ยาหลายชนิดหลังผู้ป่วยอยู่ในระยะสงบใช้เวลา4สัปดาห์
ยาที่ใช้Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
4.ระยะควบคุมโรคสงบ
ให้ยาเพื่อควบคุมและรักษาอย่างถาวร
ยาที่ใช้6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
1.ระยะชักนำให้โรคสงบ
ให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาสั้นๆ มีอันตรายต่อเซลล์ปกติน้อยที่สุด ทำให้ไขกระดูกสร้างเม็ดลือดได้ปกติ ระยะนี้ใช้เวลา4-6สัปดาห์
ยาที่ใช้Vincristine, Adriamycin, L – Asparaginase และGlucocorticoid
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด
IM ทางกล้ามเนื้อ
หลังฉีดระวังเลือดออก
IV ทางหลอดเลือดดำ
ระวังการรั่วของยา
IT ทางช่องไขสันหลัง
นางสาว ปวันรัตน์ ชื่นอารมณ์ 62111301050