Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง(Febrile convulsion)
ชนิด
simple febrile seizure
complex febrile seizure
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อในระบบต่างๆเมื่อร่างกายมีอุณหภูมิสูงมากกว่า 39 องศาเซลเซียส พบในเด็กอายุ 6 เดือน-6ปี
อาการแสดง
กระสับกระส่าย
มึนงงสับสน
หน้าแดง
ชักกระตุก ไม่รู้สึกตัว
การพยาบาล
จับเด็กนอนหงาย ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านนึง
Suction ให้ทางเดินหายใจโล่ง และให้ออกซิเจน
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชม
เช็ดตัวลดไข้ 10-15 นาที และให้ยาลดไข้
ไม่ผูกยึดเด็กหรือจับเด็กขณะชัก
ไม่ใช้ไม้กดลิ้นหรืองัดปากเด็ก
สังเกตุและบันทึกระยะเวลาลักษณะการชัก
การรักษา
ระยะกำลังชัก
ชักเกิน 5 นาที ให้ยาระงับอาการชักเช่น diazepam
ให้ยาลดไข้(ยาฉีด)ร่วมกับการเช็ดตัวลดไข้
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด
ให้ยาป้องกันการชักรับประทานทุกวันนาน 1-2ปี
Depakine
Phenobarbital
โรคลมชัก(Epilepsy)
อาการชักที่เกิดขึ้นซํ้าๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป เกิดเพียง 2-3นาที ชักนานเกิน 10 นาที จะเรียกว่าภาวะชักต่อเนื่อง(Status epilepticus)
สาเหตุ
เกิดจากการมีรอยโรคที่เนื้อสมอง ทำให้คลื่นไฟฟ้าสมองถูกปล่อยออกมามากกว่าปกติ
ชนิด
Generalized seizure
Grand mal มีการเกร็งแล้วมีการกระตุกตาม
Atonic seizureมีการสูญเสียการตึงตัวของกล้ามเนื้อ
Myoclonic seizure มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเป็นระยะสั้นๆ
Absence seizure (Petit mal) มีการกระพริบตากระตุก
Clonic seizure กระตุกเป็นจังหวะ
Tonic seizure เกร็งแข็ง ยืนอยู่แล้วล้ม
Infantile spam มีการงอศีรษะ ลำตัวแขนขา เข้าหากันแล้วคลายออกคล้ายสะดุ้ง
Partial seizure
Simple partial seizure กระตุกแขนขาหน้า 5-10 วินาที
Complex partial seizure มีการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
Partial seizure evolving to secondary generalize seizure มีการชักเกร็งหรือกระตุกทั่วทั้งตัว
Unclassified epileptic seizure
การวินิจฉัย
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมองEEG
การรักษา
ให้ยา Diazepam 0.2-0.4 มก/กก/นาทีทางหลอดเลือดดำ
ยากันชัก
Benzodiazepineทําให้ง่วงหลับ เดินเซ พฤติกรรมเปลี่ยน
Phenobarbital ทําให้ง่วงซึม เดินเซ
Phenytoin (dilantin) เห็นภาพซ้อน เหงือกหนา
Valproic acid ง่วงซึม คลื่นไส้อาเจียน มือสั่น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน อุบัติเหตุ
บิดามารดาวิตกกังวล และขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
พยาธิ
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
อาการแสดง
มีไข้ ซึมลง
ปวดศีรษะมาก กระหม่อมโป่งตึง
การระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
คอแข็ง (Stiffness of neck)
การรักษา
เฉพาะ
ให้ยาปฏิชีวนะ
ตามอาการ
ให้ยาลดไข้
ให้ยานอนหลับ
ให้ยากันชัก
การป้องกัน
ควรฉีดวัคซีน
JE vaccine
BCG
Hib vaccine
ไข้สมองอักเสบ(Encephalitis)
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสทำให้เนื้อสมองผิดปกติ
Primary viral encephalitis
Japanese encephalitis virus
ไวรัสเริม ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า
ไวรัสที่นําโดยแมลง
Secondary viral encephalitis
ไวรัสอีสุกอีใส
ไวรัสคางทูม วัคซีนป้องกันพิษสนัขบ้า
ไวรัสหัด ไวรัสหัดเยอรมัน
อาการแสดง
ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดบริเวณต้นคอมาก
คอแข็ง หายใจไม่สมำ่เสมอ ซึมลง
ภาวะสมองบวม
การวินิจฉัย
ตรวจนํ้าไขสันหลัง
มีเม็ดเลือดขาว 10-1000 cell
โปรตีนในนำ้ไขสันหลังสูงขึ้น
นำ้ไขสันหลังมีสีขุ่น
นำ้ตาลในนำ้ไขสันหลังสูง
ความดันนำ้ไขสันหลังสูง
โรคสมองพิการ(Cerebral Palsy)
ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทางการทรงตัวการเคลื่อนไหว(motor disorders)
สาเหตุ
2.ระยะคลอด
รกพันคอ คลอดท่าก้น การ
ใช้คีมดึงเด็ก
3.ระยะหลังคลอด
การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ การขาดออกซิเจน การติดเชื้อที่สมอง
1.ระยะก่อนคลอด
การมีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วง
ระหว่างการตั้งครรภ์เดือนที่ 6-9
อาการแสดง
1.กลุ่มเกร็ง(Spastic)
กล้ามเนื้อเกร็ง เคลื่อนไหวได้ช้า
2.กลุ่มเคลื่อนไหวผิดปกติ(Dystonia)
คอบิด แขนงอ พูดลำบาก กลืนลำบาก มัการกระตุกรวดเร็ว คล้ายอาการขว้างลูกบอล
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
diazepam
baclofen
ทำกายภาพบำบัด กล้ามเนื้อแขนขา
ให้ early stimulation
ภาวะนำ้คั่งในโพรงสมอง(Hydrocephalus)
ทำให้เกิดความดันในกระโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
สาเหตุ
1.การสร้างนำ้ไขสันหลังผิดปกติ
การอุดตันการไหลเวียนของนำ้ในสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมนำ้ไขสันหลัง
อาการแสดง
ศรีษะโต/ หัวบาตร(cranium enlargement)
เด็กเล็กกระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่า
ปกติ(fontanelle bulging )
หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดําที่บริเวณใบหน้า
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
ตาทั้'ง 2 ข้างกรอกลงข้างล่าง พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ
รีเฟลกซ์ และ tone ของขา2 ข้าง ไวกว่าปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย(transillumination test)
CT scan, Ultrasound
Ventriculography
Head Circumference
การรักษา
การให้ยาลดการสร้างนํ้าไขสันหลัง (diamox)
Ventriculo-peritoneal Shunt (V-P Shunt)
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินนํ้าไขสันหลัง (Shunt)
สไปนา ไบฟิดา (Spina Bifida)
ความผิดปกติของท่อระบบประสาทที่เจริญไม่สมบูรณ์ พบที่แนวไขสันหลัง
สาเหตุ
เกิดจากมารดามีการติดเชื้อไวรัสในขณะตั้งครรภ์ในระยะ 3เดือนแรก
ภาวะทุพโภชนาการ
มารดาอายุน้อยหรือมากเกินไป
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ ตรวจพบAlphafetoprotien ในนำ้ครำ่สูง
ตรวจร่างกายทารกพบอาการผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงนำ้แตก
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
หมั่นตรวจสอบการฉีกขาดรั่ว
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนควํ่า
ประเมินการติดเชื้อ
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากการคั่งของนํ้าปัสสาวะ
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ทํา Crede’manuever ทุก 2-4 hr
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
กลุ่มอาการดาวน์(Down ’s syndrome)
ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21
พบบ่อยในกลุ่มกรรมพันธุ์ที่ทำให้เกิดปัญญาอ่อน
อาการแสดง
หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
คอสั้น หูติดอยู่ตำ่ พบ distal triradius ในฝ่ามือ
brush field spot, เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่า
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
-ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก มีรอยแตกที่ลิ้น
หัวใจพิการแต่กําเนิด, Polycythemia
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการ
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพัฒนา
Guillain Barre‘s Syndrome
เกิดจากการบวมอักเสบของระบบประสาทส่วนปลายอย่างเฉียบพลัน
อาการแสดง
motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินลําบาก อัมพาตใน GBS
มีการลุกลามไปที่กล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจทําให้หายใจล้มเหลว
3.อาการของประสาทสมอง
อัมพาตของหน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
การกลืน พูด และหายใจลำบาก
Sensation
อ่อนแรง ชา เสีย reflex
อาการเหน็บชา เจ็บ และปวดโดยเฉพาะ
ปลายแขนปลายขาไหล่ สะโพก และโคนขา
4.อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
การเต้น
หัวใจผิดจังหวะ
ความดันโลหิตไม่คงที่
หน้าแดง เหงื่อออกปัสสาวะคั่ง และท้องอืดจาก paralytic ileus
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายพลาสมา (Plasma Exchange)
Intravenous Immunglobulin (IVIG)