Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรมและจรรยาบรรณ ของนักคอมพิวเตอร์ และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 - Coggle…
จริยธรรมและจรรยาบรรณ ของนักคอมพิวเตอร์ และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
2.ความถูกต้อง (Accuracy)
การจัดทำข้อมูล
และสารสนเทศให้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือนั้นข้อมูลควรได้
รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำเข้าฐานข้อมูล
การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
การเข้าใช้งาน
โปรแกรมหรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนิน
การต่างๆ
1.ความเป็นส่วนตัว (Privacy)
สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดให้ผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่าง ๆ
3.ความเป็นเจ้าของ (Property
กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินซึ่งอาจเป็น
ทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์หรืออาจเป็น
ทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด) ที่จับต้องไม่ได้
สรุป
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือฉบับที่ 2 ปัจจุบันมีผลบังคับใช้แล้ว ถ้าเราเป็นคนหนึ่งที่คลุกคลีกับการใช้งานคอมพิวเตอร์หรือ
อินเตอร์เน็ต ระวัง 8 ประเด็นที่เราได้เขียนเอาไว้เลย อีกทั้ง
การมีพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ขึ้นมาก็ถือว่าเป็นการควบคุมการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ในระดับหนึ่งและในทางหนึ่งก็ช่วยคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
ของผู้ใช้งานด้วย
การทำผิดตาม
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
3.ส่งข้อมูลหรืออีเมล์ก่อกวนผู้อื่น
หรือส่งอีเมล์สแปม (มาตรา 11)
พ่อค้า แม่ค้าออนไลน์ หรือนักการตลาดที่ส่งอีเมล์ขายของที่ลูกค้าไม่ยินดีที่จะรับหรือแม้แต่การฝากร้านตาม
Facebook กับ Instragram ก็เป็นสิ่งที่ไม่ควรทำและยังรวมถึงคนที่ขโมยDatabase ลูกค้าจากคนอื่นแล้วส่งอีเมล์ขายของตัวเอง
บทลงโทษ
ถ้าส่งโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาปรับไม่เกิน1 แสนบาทและถ้าส่งโดยไม่เปิดโอกาสให้ปฏิเสธตอบรับได้โดยงานต้องได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่
เกิน 4 หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4.เข้าถึงระบบ หรือข้อมูลทางด้าน
ความมั่นคงโดยมิชอบ (มาตรา 12)
โพสต์เกี่ยวกับเรื่องการเมืองที่ส่งผลให้เกิดความ
เสียหายหรือความมั่นคงต่อประเทศ
กรณีไม่เกิดความเสียหาย: จำคุก 1-7 ปี และปรับ2 หมื่น – 1.4 แสนบาท
กรณีเกิดความเสียหาย: จำคุก 1-10 ปี และปรับ 2 หมื่น – 2 แสนบาท
กรณีเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย: จำคุก 5-20 ปี และปรับ 1 แสน – 4 แสนบาท
2.แก้ไข ดัดแปลง หรือทำให้ข้อมูลผู้
อื่นเสียหาย (มาตรา 9-10)
การทำให้ข้อมูลเสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมข้อมูล
ของผู้อื่นโดยมิชอบ
บทลงโทษต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
7.ให้ความร่วมมือ ยินยอม รู้เห็นเป็นใจกับผู้ร่วมกระทำความผิด (มาตรา 15)
กรณีนี้ถ้าเทียบให้เห็นภาพชัดๆ ก็เช่น เพจต่างๆ ที่เปิดให้มีการแสดงความคิดเห็น แล้วมีความคิดเห็นที่มีเนื้อหาผิดกฎหมายก็มีความผิดแต่ถ้าหากแอดมินเพจตรวจสอบแล้วพบเจอและลบออก จะถือว่าเป็นผู้ที่
พ้นความผิด
แต่ถ้าไม่ยอมลบออกต้องได้รับโทษ ถือว่าเป็นผู้กระทำความผิดตาม มาตร 14
1.เข้าถึงระบบ หรือข้อมูลของผู้อื่น
โดยไม่ชอบ (มาตรา 5-8)
เข้าไปเจาะข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ของคนอื่น
โดยที่เจ้าของข้อมูลไม่ได้อนุญาตการปล่อยไวรัส มัลแวร์เข้าคอมพิวเตอร์คนอื่น เพื่อ
เจาะข้อมูลบางอย่าง หรือพวกแฮคเกอร์ที่เข้าไปขโมย
ข้อมูลของคนอื่นก็มีความผิดตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์:จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 1หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์: จำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 4หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และนำ
ไปเปิดเผย:จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์: จำคุกไม่เกิน 2 ปี
ปรับไม่เกิน 4หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
6.นำข้อมูลที่ผิดพ.ร.บ. เข้าสู่ระบบ
คอมพิวเตอร์ (มาตรา 14)
ความผิดมาตรา 14 จะระบุโทษการนำข้อมูลที่เปิดพ.ร.บ.เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ข้อความผิดด้วยกันคือ1. โพสต์ข้อมูลปลอม ทุจริต หลอกลวง 2. โพสต์ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับความมั่งคงปลอดภัย 3.โพสต์ข้อมูลความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง ก่อการร้าย 4. โพสต์ข้อมูลลามก ที่ประชาชนเข้าถึงได้ 5. เผยแพร่ ส่งต่อข้อมูล ที่รู้แล้วว่าผิด
บทลงโทษโทษ
จำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
5.จำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อ
นำไปใช้กระทำความผิด (มาตรา 13)
กรณีทำเพื่อเป็นเครื่องมือในการกระทำความ
ผิดทางคอมพิวเตอร์ตามมาตรา 5-11
ต้องจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
กรณีทำเพื่อเป็นเครื่องมือในการกระ
ทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ มาตรา 12
ต้องจำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 4 หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
8.ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงภาพ
(มาตรา 16)
• การโพสต์ภาพของผู้อื่นที่เกิดจากการสร้าง ตัดต่อ หรือดัดแปลงที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นเกลียดชัง
ต้องได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 2
แสนบาท
• การโพสต์ภาพผู้เสียชีวิต หากเป็นการโพสต์ที่ทำให้บิดามารดาคู่
สมรส หรือบุตรของผู้ตายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นเกลียดชัง
ประโยชน์ของการกำหนดจรรยาบรรณสำหรับหน่วยงาน
สนับสนุนให้เกิดมาตรฐานของการประพฤติตามจริยธรรม
พัฒนาการตัดสินใจทางจริยธรรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
เพิ่มความน่าเชื่อถือและน่านับถือจากสาธารณชน
มีการประเมินเปรียบเทียบกับมาตรฐาน