Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ (Diseases of Urinary system) - Coggle Diagram
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ (Diseases of Urinary system)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1.ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนบน (Upper Urinary tract)
ไตสองข้าง ( Kidney)
หน่วยไต (Nephron)
กรวยไต (renal pelvis)
ท่อไต (Ureter)
2.ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง (Lower Urinary tract)
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
โครงสร้างของหน่วยไต (Nephron)
Renal corpuscle
Renal tubule
โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ (Diseases of Urinary system)
Renal malformations
ความผิดปกติของไต
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Agenesis = การขาดหายไปแต่กำเนิด
Hypoplasia =การเจริญพร่อง
Supernumerary kidney=ภาวะที่มีไตหลายอัน
ความผิดปกติในตำแหน่ง รูปร่าง และ Orientation
Ectopia =ผิดที่
Malrotation =ความผิดปกติของการหมุนตัวของลำไส้
Fusion of kidneys =การรวมตัวของไต
ความผิดปกติใน differentiation
ความผิดปกติในปริมาณของเนื้อไต
Agenesis ไตฝ่อหรือภาวะที่ไม่มีเนื้อไต
Renal agenesis อาจจะเป็นข้างเดียวหรือสอง ข้าง
Potter’s syndrome
เกิดจากทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขาดน้ำคร่ำทำให้ร่างกายถูกกด การแบ่งตัวของเซลล์ผิดปกติ เป็นสาเหตุการเสียชีวิต แต่กำเนิดของทารก
แขนขาผิดปกติบ่อยคือ รูปร่าง โก่ง บิด ข้อเลื่อน clubfoot
Potter's facies หตูดิต่า ผิวหนังย่น จมูก งุ้ม คางเล็ก มีสันนูนเด่นที่หัวคิ้วทั้งสองข้าง
Hypoplasia
ภาวะที่ไตมีขนาดเล็กกว่าปกติมากกว่าร้อยละ 50
Supernumerary kidney
ภาวะที่มีจำนวนไตมากกว่าสอง ส่วนใหญ่จะ เป็นสามไต
ไตชั้นที่เกินจะแยกออกจากไตปกติหรือเป็น ภาวะ "ไตแฝด" ที่ไตสองส่วนอยู่ติดแน่นเป็นไตเดียว
ความผิดปกติในตำแหน่ง รูปร่าง และ Orientation
Ectopia
ภาวะที่ไตอยู่ในตำแหน่งที่ผิดปกติ
เช่น อยู่ในอุ้งเชิงกราน
อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
Malrotation
ภาวะที่ไตมีrenal pelvis และureter อยู่ทางด้านหน้า
Fusion of kidneys หรือ Horseshoe kidney - การเชื่อมกันตรงกลางระหว่างเนื้อไตทั้งสองข้าง
Renal cystic diseases
Renal cystic diseases
เป็นรอยโรคที่อาจเป็นพันธุกรรม การเจริญผิดปกติหรือเกิดขึ้นภายหลัง
มักก่อให้เกิดปัญหาในการวินิจฉัยแยก
จากเนื้องอกของไต
Polycystic kidney disease
Adult type
พบได้บ่อยเป็นทั้งสองข้าง
ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบ autosomal dominant
ไตจะมีขนาดใหญ่ขึ้น บางครั้งหนักได้ถึง 4 กิโลกรัม
ผิวนอกตะปุ่มตะป่ำหน้าตัดประกอบด้วย cyst ขนาด ใหญ่ 3-4 เซนติเมตร
Infantile type
พบได้ตั้งแต่ทารกแรกคลอดมักจะเสียชีวิตใน ระยะแรกๆ
ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์แบบ autosomal recessive
ไตมีขนาดใหญ่ทั้งสองข้าง ผิวหนังนอกเรียบ หน้าตัดพบ cyst ทั้งที่ cortex และ medulla ทำให้เนื้อมีลักษณะพรุนแบบฟองน้ำ
Medullary cyst
Medullary sponge kidney
มีการขยายใหญ่เป็นถุงของcollecting tubule ของ medulla
พบในผู้ใหญ่
ไตยังทำงานปกติ
Uremic Medullary cystic disease
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์มักมีอาการตั้งแต่เด็ก
พบcyst อยู่ในบริเวณ Medulla
ที่สำคัญคือมี cortical tubular atrophy และ interstitial fibrosis ร่วมด้วย ซึ่งเป็นสาเหตุของ
Simple cyst
อาจพบ cyst เดียวหรือหลายอัน ขนาดอาจจะ เล็กหรือใหญ่
มักพบอยู่ในบริเวณ cortex เกิด dilatation ของ tubule อาจท าให้มีเลือดออก หรือ calcification ในภายหลัง
Glomerular diseases
พยาธิสภาพที่เกี่ยวข้องกับภิมูคุ้มกัน Glomerulonephritis (GN)
การอักเสบภายนอกไตที่มีผลต่อไต ส่วน ใหญ่เป็นภาวะแพ้ภิมูตนเอง
Malaria, Syphilis, Hepatitis และ Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
พยาธิสภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบภิมูคุ้มกัน
พบได้บ่อยคือ โรคไตจากเบาหวาน(Diabetic nephropathy) หรือจากการรักษาเบาหวาน
การใช้ยา กลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย (sulfonylurea) ท าให้เกิดภาวะโซเดียม ในเลือดต ่า จึงเกิดภาวะขาด ADH ตามมา
จากภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ความดันโลหติสูง การติด เชื้อในกระแสเลือด
กลไกการเกิด
1) การกรองเพิ่มขึ้น (hyperfiltration)
2) การเปลี่ยนแปลงกลไกการทำงานของ Renin
Tubulo-interstitial diseases
เป็นกลุ่มของโรคท่มีีความผิดปกติในรูปร่างและ หน้าที่ของ tubule และ interstitium ของไต
เกิดจากสาเหตุหลายอย่างได้แก่ ยา การติด เชื้อ immunological reaction
Acute interstitial nephritis
Chronic interstitial nephritis
Tubular diseases
โรคที่สำคัญ คือ Acute tubular necrosis (ATN)
เป็นภาวะที่มีการถูกทำลายอย่างเฉียบพลันของRenal tubule
เกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยงไตเป็นเวลานาน
ชนิดของ Acute tubular necrosis (ATN)
Nephrotoxic type : ได้รับสารพิษ
Acute tubular necrosis
ระยะที่ 1 Oliguric phase
เกิดในช่วงแรกเมื่อมีการตายของ renal tubule ทำให้ renal cell หลุดมาอุดตันทางเดิน ปัสสาวะ
ปัสสาวะจึงออกน้อย และมีอาการบวมร่วมด้วย
ระยะที่ 2 Diuretic phase
เกิดในช่วงกลาง
เมื่อเวลาผ่านไป tubular cell ที่ตายมีการสลายไปและมีการสร้าง cell ใหม่
cell ใหม่ที่สร้างไม่สามารถดูดกลับน้ำได้เต็มที่ปัสสาวะจึงออกมาก
ระยะที่ 3 Recovery phase
เกิดในช่วงหลัง
เมื่อนานเข้า tubular cell สามารถดูด น้ำกลับได้ปกติ ปัสสาวะจึงมีปริมาณปกติ
Urinary tract infection ( UTI)
กรวยไตอักเสบ( Pyelonephritis)
อาจเกิดเพียงข้างเดียว หรือ เกิดพร้อมกันทั้งสองข้าง
เกิดทันที และรุนแรง แต่เมื่อได้รับการรักษ จะหายได้ภายใน 2-3 สัปดาห์
มีอาการไตบวมโตมีเลือดคั่งมากขึ้น พบจุด หนองกระจายเป็นทางจากผิวลึกลงไปในส่วน
cortex,medulla และ renal pelvis
รายที่รุนแรง เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือใน รายที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะร่วมด้วย อาจมีการตายของ renal papilla เรียกว่า Renal papillary
Chronic Pyelonephritis
เป็นการอักเสบไม่รุนแรง แต่เป็นๆหายๆ
ไตจะมีขนาดเล็กลง ผิวขรุขระ เนื่องจากรอยแผลเป็น (scar)รูป “U” ที่เกิดจากการท าลายของเนื้อไตแล้ว แทนที่ด้วย fibrosis ร่วมกับ deformity ของ calyx ที่อยู่ ใกล้เคียง
มักเกิดจากการควบคุมสาเหตุของโรคไม่ได้ เช่น นิ่วในไตเรื้อรัง หรือ ต่อมลูกหมากโต
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
Nephrocalcinosis
ภาวะที่มี calcium สะสมในเนื้อไต
สาเหตุเกิดจาก Hypercalcemia
กลไกการเกิด
การมีระดับแคลเซียมในเลือดสูง
เมื่อเลือดกรองที่ไต แคลเซียมส่วนหนึ่งจะถูกดึงไว้ใน กระดูกเพื่อใช้ในยามจำเป็นส่วนที่เหลือใช้จะถูกขับ ออกทางปัสสาวะ
เมื่อเลือดมีแคลเซียมสูงร่างกายขับแคลเซียมออกไม่หมดเกิดการตกตะกอนของแคลเซียมในเนื้อไต
Urinary tract obstruction
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ
ความพิการแต่กำเนิด
การอุดกั้นจากรอยโรคที่เกิดขึ้นภายหลัง ได้แก่ นิ่ว เนื้องอก การอักเสบ ก้อน renal papillae ที่ ตายหรือก้อนเลือด การตั้งครรภ์
ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการ ทำงานของกระเพาะปัสสาวะ
ผลจาก Urinary tract obstruction
ทำให้ทางเดินปัสสาวะส่วนท่อียู่เหนือตำแหน่ง ที่มีการอุดตันขึ้นไปขยายตัว (dilatation)
มีโอกาสเกิดนิ่วและการติดเชื้อเพิ่มขึ้น และ ทำลายเนื้อไตอย่างถาวร
Hydronephrosis
ภาวะที่มี dilatation ของ renal pelvis และ Calyx ร่วมกับมี Progressive atrophy ของเนื้อไต
สาเหตุจากการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
ความผิดปกติในส่วนของ Ureter
พยาธิสภาพที่สำคัญ
การอุดกั้น
เนื้องอก
vesicoureteral reflux
สาเหตุ
นิ่วที่หลุดมาจากส่วนของไต
หลอดไตตีบ(stricture) อาจเป็ นมาแต่กำเนิดหรือเป็นผลจากการอักเสบ
เนื้องอกของ Ureter
เนื้องอกของอวัยวะใกล้เคียง เช่น ปากมดลูกและมดลูก
การอุดกั้นเหล่านี้ทำให้ปัสสาวะที่สร้างแล้วขับถ่ายออก จากร่างกายไม่ได้หรือได้น้อย ทำให้เกิดHydronephrosis ของไตข้างนั้น
แต่ถ้าการอุดกั้นเกิดในส่วนล่างของหลอดไตอาจเกิดการโป่งพองของ Ureter (Hydroureter)
Vesicoureteral reflux
เป็นความผิดปกติที่เกิดจากมีการไหลย้อนกลับของน้ำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะเข้าไปใน หลอดไตและ renal pelvis
พบมากในเด็ก อาจท าให้มีการติดเชื้อและเป็ น
สาเหตุหนึ่งของ pyelonephritis
สาเหตุของ Vesicoureteral reflux
การทำศัลยกรรมทางการแพทย์
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บจากภายนอก
พันธุกรรม
มีความผิดปกติของ sphincter
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนที่ออกจาก กระเพาะปัสสาวะ