Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดาอายุ 32 ปี G1P0A0 GA 31wks 6 day by ultrasould Dx.Low Body mass…
มารดาอายุ 32 ปี G1P0A0 GA 31wks 6 day by ultrasould
Dx.Low Body mass index
ข้อมูลส่วนตัว
ความสูง 156 cm น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 44 kg BMI 18.08 kg/m2 ดัชนีมวลกายนอ้ยกวา่เกณฑ์
ได้รับ Tetanus Toxoidได้รับครบท้้งสามเข็ม
ประวัติการวางแผนครอบครัวไม่ได้มีการวางแผนครอบครัวก่อนมีบุตร
ปฏิเสธการคุมกำเนิดในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ฝากครรภค์คร้ังแรก24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 อายุครรภ์12 สัปดาห์1วัน
LMP ประมาณปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ 2563
EDC (by ultrasound) 5 มิถุนายน
พ.ศ.2564
รู้สึกถึงการดิ้นครั้งแรกของเด็กวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2564 ( 18 week 2 day)
ประวัติทางสูติกรรม
มีประจำเดือนคร้ังสุดท้ายประมาณปลายเดือนสิงหาคม
ประจำเดือนมาคร้ังแรกตอนอายุ15 ปี
ประจำเดือนจะมาประมาณปลายเดือนวันที่ 25-27 มาไม่สม่ำเสมอ
มานานคร้ังละ 7 วัน
ขณะมีประจำเดือนจะมีอาการปวดท้องเล็กนอ้ย
ยาที่ใชร้ะหว่างการตั้งครรภ์
CaCo3
เสริมแคลเซียมเพื่อป้องกันกระดูกพรุน เนื่องจากแคลเซียมในหญิง
ตั้งครรภ์จะถูกนำไปเสริมสร้างการเจริญเติบโตของกระดูกทารก
Obimin AZ
ยาบำรุงร่างกาย สตรีมีครรภ์ สตรีก่อน และหลังคลอด ระหว่างให้นมบุตร สตรีหลังหมดประจำเดือนและผู้สูงอายุ บำรุงคุณแม่ระหว่างตั้งครร ให้ทารกมีพัฒนาการ ที่สมบูรณ์แข็งแรง บำรุงคุณแม่ให้นมบุตร เพื่อให้ทารกได้รับน้ำนมที่เพียงพอ มีประโยชน์ และปรับร่างกายของคุณแม่หลังคลอด
การตรวจร่างกาย
ขนาดหน้าท้องเล็ก ไม่มีรอยแผลเป็น
วัดระดับของยอดมดลูกได้ 2/4 เหนือระดับสะดือ หรือ
29 เซนติเมตร
ส่วนนำเป็นศีรษะ
ฟังเสียงหวัใจทารกเท่ากับ 135 bpm จงัหวะสม่ำเสมอ
มารดาใหข้อ้มูลว่าทารกดิ้นมากกวา่ 10 คร้ัง/วัน (2/4=0=(29cm) OL FHS 135 bpm ทารกดิ้นดี)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
คร้ังที่1วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
หมู่เลือด A
Rh Positive
Hb 12.1 g/dl
Hct 36.3 %
VDRL non-reactive
HbsAg negative
HIV negative
OF negative
OF negative
DCIP negative
MCV 91.9
Dx.Low Body mass index
น้ำหนักมารดาก่อนการตั้งครรภ์และน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
BMI < 18.5kg/m2 (underweight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 12.5-18 kg
(ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.5 kg/week)
BMI 18.5-24.9kg/m2 (normal weight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 11.5-16 kg(ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.5 kg/week)
BMI 230kg/m2(obese) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 5.9 kg
(ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.25 kg/week)
BMI 25-29.9kg/m2 (overweight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 7-11.5 kg
(ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.25 kg/week)
คำแนะนำสำหรับอัตราการเพิ่มขึ้นของน้ำ
หนักตัวขณะตั้งครรภ์ที่เหมาะสม
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวก่อนการตั้งครรภ์
ปกติแนะนำให้มีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวขณะตั้ง
ครรภ์ในอัตรา ๐.๙ ปอนด์ หรือ ๔๐๘ กรัมต่อสัปดาห์
ในช่วงไตรมาสที่ ๒ และ ๓ ของการตั้งครรภ์
สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วนแนะนำให้เพิ่มขึ้นน้อยกว่าเล็กน้อย
หญฺงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าปกติ
แนะนำให้เพิ่มขึ้นมากกว่านี้กว่าเล็กน้อย
ผลกระทบต่อทารก
ทารกน้ำหนักตัวมากกว่าปกติหรือทารกตัวใหญ
คลอดก่อนกำหนด
ทารกมีการเจริญเติบโตช้า
อาจมีความพิการแต่กำเนิด
นางสาวอามานี กูบาเล๊าะ 61110581