Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนเเปลงทางสรีระวิทยาของมารดา - Coggle Diagram
การเปลี่ยนเเปลงทางสรีระวิทยาของมารดา
ระบบสืบพันธุ์
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
Labia majora, labia minora, clitoris, vaginal introitus จะขยายใหญ่ ขึ้น เพราะมีเลือดมาเลี้ยง มากขึ้น
รังไข่ (ovaries) เเละท่อนำไข่ (follopian tube)
ในระยะตั้งครรภ์ Gonadotropin Releasing Hormone (GnRH) จาก anterior pituitary gland มีระดับต่ำลง เกิดจาก negative feed back ของฮอร์โมน estrogen และ progesterone ทาให้ไม่มีการเจริญของ follicle และไม่มีการตกไข่ตลอด การตั้งครรภ์
ปากมดลูก (cervical)
ในช่วงอายุครรภ์ 8 สัปดาห์ มีการ เปลียนแปลงของฮอร์โมน estrogen ส่งผลให้เลือด มาเลี้ยงบริเวณปากมดลูก เพิมขึ้น ทาให้ปากมดลูก มีสีม่วงคล้า เรียกว่า chadwick’s sign ขณะเดียวกัน เนื้อเยือ คอลลาเจนลดลง ปาก มดลูกจะนุ่มคล้ายติงหู เรียกว่า Goodell ‘s sign
ช่องคลอด (vagina)
Vagina epithelial tissue จะมีเลือดมาเลี้ยงมาก เนื้อเยือมีการ เจริญเติบโตและ มี Hypertrophy จาก อิทธิพลของฮอร์โมน estrogen ทำให้เยื่อบุผนังช่องคลอดมีความหนาตัวมากขึ้น
มดลูก (Uterus)
มดลูกมีการขยายขนาดจากทารกที่เติบโตในครรภ์ กล้ามเนื้อมดลูกมีการหนาตัวขึ้น (myometrium) มีการหนาตัวขึ้นและเพิ่มจำนวนของเนื้อเยื่อไฟบราส (fibrous tissue) เพื่อเตรียมพร้อมในการยืดขยายอย่างมากในระหว่างการตั้งครรภ์เมื่ออายุครรภ์มากขึ้นกล้ามเนื้อมดลูกอาจมีการหดรัดตัวเป็นพักพักอย่างไม่สม่ำเสมอ
เต้านม
เต้านมจะขยายใหญ่ขึ้น และมีน้าหนักมากขึ้น จน รู้สึกคัดตึง หัวนมจะขยาย ใหญ่และยืดหยุ่นได้มาก ขึ้น ระดับออร์โมน estrogene และ progesterone สูงขึ้น ส่งผลให้ท่อน้านม(duct) และต่อมน้านม (aveola) ขยายมากขึ้น
ระบบหัวใจเเละหลอดเลือด
Cardiac output) เพิมขึ้นร้อยละ 50 เป็น ผลจากการเพิมของ heart rate และ stroke volume โดยอัตราการ เต้นของหัวใจ เพิมขึ้น 10-15 ครั้ง/นาที สตรี ตั้งครรภ์อาจรู้สึกมีอาการ ใจสันเกิดขึ้น
ระบบทางเดินหายใจ
ฮอร์โมน Progesterone ที่เพิ่มขึ้น
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบบริเวณหลอดลมขยายตัว การใช้ออกซิเจนในระยะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น 20% เพื่อนำไปเลี้ยงรก ทารก มดลูก และเต้านมขณะตั้งครรภ์
ฮอร์โมน estrogen
ทำให้มีเลือดไปเลื้ยงบริเวณเยื่อบุทางเดินหายใจส่วนบนเพิ่มขึ้นทำให้มีเลือดคั่ง(vascular congestion) และมีอาการบวมของทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้สตรีตั้งครรภ์รู้สึกคัดจมูก มีเลือดกาเดาออก (epistaxis) เพราะหลอดเลือดฝอยแตก
ระบบทางเดินอาหาร
ช่องปากและเหงือก
ระบบผิวหนัง
หน้าท้องลาย (Striae gravidarum)
เกิดจากน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นและมดลูกที่ขยายใหญ่ขึ้นประกอบกับการทำหน้าที่ของ adrenocorticosteroids และ estrogen ทำให้ connective tissue ใต้ผิวหนังยืดตัวขึ้นทำให้มีหน้าท้องลาย
linea nigra เป็นเส้นเข้มคล้ำที่พาดจากสะดือลงไปที่หัวหน่าว (mons pubis)
เกิดจากการเพิ่มขึ้นของ estrogen และ melanocyte-stimulating hormone โดยเส้นเข้มคล้ำจะยังคงอยู่จนหลังคลอด ครรภ์แรกมักจะเกิดในเดือนที่ 3 ของการตั้งครรภ์ แต่ครรภ์หลังมักจะเข้มขึ้น
การสร้างเม็ดสีผิวเพิ่มมากขึ้น (hyperpigmentation)
เกิดจากการเพิ่มขึ้นของ estrogen และ melanocyte- stimulating hormone ซึ่งหลั่งจาก pituitary สีผิวจะคล้ำขึ้น เริ่มในช่วงสัปดาห์ที่ 8 ของการตั้งครรภ์ สีผิวจะคล้ำขึ้น
ฝ้าบริเวณใบหน้า Cloasma
เป็นหน้ากากของการตั้งครรภ์ (mask of pregnancy) จะมีขึ้นเป็นปีกสีน้ำตาลบริเวณโหนแก้ม (Cheeck bones) และหน้าผาก (forehead) มักเกิดขึ้นหลังสัปดาห์ที่ 16 ของการตั้งครรภ์และจะค่อย ๆ ชัดเจนขึ้นจากกระทั่งคลอดและหายไป
ผิวหนังมัน มีเลือดไปเลี้ยงผิวหนังมากขึ้น
ทำให้ต่อมเหงื่อและต่อมไขมันทำงานมากขึ้น สตรีตั้งครรภ์จะมีผิวหนัง หน้ามัน ผมมัน และมีสิวเพิ่มขึ้นจากการเพิ่มสูงขึ้นของฮอร์โมน estrogen
spider nevi
พบบริวณร่างกายส่วนบน (upper torso) บริเวณหน้า คอ มือและแขน พบ palmar erythema เกิดจากการเพิ่มของ estrogen ในกระแสเลือดจะเห็นเป็นลักษณะจุดแดงๆ มีการแตกของเส้นเลือดฝอย และลดลงหลังคลอด
Hair Growth
ระยะตั้งครรภ์ผมจะงอกเร็วและร่วงน้อย และระยะหลังคลอดจะมีผมร่วงอยู่ 2-4 เดือน และจะกลับมาเป็นปกติภายใน 6-12 เดือนหลังคลอด
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ช่วงอายุครรภ์ 28-30 สัปดาห์ ขนาดมดลูกที่ใหญ่ขึ้นและเข้าไปในช่องท้อง broad Ligament จะถูกดึงรั้งขึ้น และ roundligament จะมีขนาดใหญ่และยาวขึ้น เมื่อมดลูกหดรัดตัว เส้นเอ็นก็จะหดรัดตัวด้วย ซึ่งจะทำให้เกิดอาการปวดและสร้างความรำคาญให้สตรีตั้งครรภ์ เรียกว่า roundligament pain
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ช่วงไตรมาสที่1 จะปัสสาวะบ่อย เนื่องจากมดลูกมีการกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
ช่วงไตรมาสที่2 จะปัสสาวะลดลง
ช่วงไตรมาสที่3 จะมีปัสสาวะบ่อยอีกครั้ง เกิดจากส่วนนำของทารกลงสู่ช่องเชิงกรานทำให้กดกระเพาะปัสสาวะ
ระบบเผาผลาญสารอาหาร
ระบบประสาท