Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์แห่งชาติ - Coggle Diagram
นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการ
เจริญพันธุ์แห่งชาติ
เหตุผลและความเป็นมาของการจัดทำแผน
อัตราเพิ่มประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ 2.7 ในปี พุทธศักราช 2513 เหลือร้อยละ 1.1 ในปีพุทธศักราช 2543 และเหลือเพียง ร้อยละ 0.7 ในปี พุทธศักราช 2553
ในขณะที่อัตราเจริญพันธุ์รวมของประเทศไทยลดลงอย่างมากจากที่
เคยสูงกว่า 5 ในปี พุทธศักราช 2513 เหลือเพียง 1.6 ในปี
พุทธศักราช 2557 ซึ่งต่ำกว่าระดับทดแทน
บัญญัติศัพท์คำว่า อนามัยการเจริญพันธุ์
ที่เป็นผลสัมฤทธิ์อันเกิดจากกระบวนการและหน้าที่ของการเจริญพันธุ์ที่
สมบูรณ์ทั้งชายและหญิง ทุกช่วงอายุ
ของชีวิต ที่จะท าให้เขาเหล่านั้นมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ภาวะความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายและจิตใจ
ขอบเขตของงานอนามัยการเจริญพันธุ์ของประเทศไทยไว้ 10 ประการ
4) อนามัยวัยรุ่น
5) เอดส์
3) เพศศึกษา
6) โรคติดเชื้อทางระบบสืบพันธุ์
2) การอนามัยแม่และเด็ก
7) มะเร็งระบบสืบพันธุ์
1) การวางแผนครอบครัว
8) การแท้งและภาวะแทรกซ้อน
9) ภาวะมีบุตรยาก
10) ภาวะหลังวัยเจริญพันธุ์และผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑
พัฒนากฎหมาย นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
ยุทธศาสตร์ที่ ๒
พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขและสร้างการเข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียม
ยุทธศาสตร์ที่ 4
พัฒนาระบบสารสนเทศและการสื่อสารสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 3
พัฒนาระบบจัดสวัสดิการสังคม
การเกิดจากการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ/ไม่เป็นที่ต้องการ
สาเหตุส่วนหนึ่งของการตั้งครรภ์โดยไม่ได้ตั้งใจเกิดจากการไม่ได้ใช้ วิธีคุมกำเนิดและการใช้วิธี
คุมกำเนิดที่ไม่ได้ผล
โดยพบว่าเกือบร้อยละ 60 ของหญิงที่ กำลังตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ต้องการตั้งครรภ์
ส่วนใหญ่
ใช้วิธีคุมกำเนิดชนิดชั่วคราว ได้แก่ ยาเม็ดคุมกำเนิด การหลั่งนอก และยาฉีดคุมกำเนิด
ผลกระทบทางสังคม
ทารกถูกทอดทิ้ง โดยพบว่าในปัจจุบันสถานสงเคราะห์เด็กในสังกัด
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ต้องอุปการะ
เด็กอ่อนมากถึงประมาณ 6,000 คนต่อปี
แนวคิดและหลักการ
ประเทศไทยกำลังเผชิญปัญหา “เด็กเกิดน้อย
ด้อยคุณภาพ”
นโยบายและยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติฉบับที่ 2
(พุทธศักราช 2560-2569) ว่าด้วยการส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ
จึงมุ่งเน้นที่จะรักษาอัตรา
เจริญพันธุ์รวมไม่ให้ต่ ากว่าปัจจุบันคือ 1.6
และส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ
เด็กเกิดรอด แม่ปลอดภัย
มีพัฒนาการสมวัยและเจริญเติบโตดีสามารถเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนา
ประเทศชาติต่อไปในอนาคต