Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GDMA2 นศพต.กุลนภา ดีสีใส เลขที่ 7, เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน…
GDMA2
นศพต.กุลนภา ดีสีใส เลขที่ 7
แนวทางการคัดกรองเบาหวานในขณะตั้งครรภ์
กลุ่มความเสี่ยงสูง
อายุ 30 ปีขึ้นไป
เคยมีประวัติ Gestational diabetes (GDM) ในครรภ์ก่อน
น้ำหนักตัวมาก MBI>27 kg/m2
มีญาติสายตรงเป็นเบาหวาน (บิดามารดาหรือพี่น้องท้องเดียวกัน)
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ ≥ 1+
มีประวัติไม่ดีทางสูติศาสตร์
ทารกตายคลอดไม่ทราบสาเหตุ (stillbirth)
ทารกพิการโดยกำเนิด
มีประวัติคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (Dead fetus in utero : DFU)
ตรวจพบมีภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์หรือมีประวัติโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
พบภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำ
วิธีการตรวจคัดกรองเบาหวาน
ใช้วิธี 50 grams glucose challenge test โดยผู้ป่วยไม่ต้องงดอาหาร ให้ผู้ป่วยรับประทานกลุโคส 50 กรัม จากนั้นเจาะเลือดตรวจหลังรับประทานกลูโคส 1 ชั่วโมง
ถ้าระดับน้ำตาลในเลือดมีค่า ≥ 140 mg/dl ถือว่าเป็นค่าผิดปกติ ให้ตรวจต่อโดยใช้ 100 grams 3 hr. OGTT (Oral glucose tolerance test)
การตรวจจำเพาะเพื่อการวินิจฉัยเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์
คืนก่อนวันนัดตรวจ ต้องงดอาหารและน้ำอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
เจาะเลือดเวลาเช้าขณะงดอาหาร (fasting) หลังจากนั้นให้รับประทานกลูโคส 100 กรัม และเจาะเลือดวัดระดับน้ำตาลชั่วโมงที่ 1,2 และ 3 หลังรับประทานกลูโคส
ขณะทำการตรวจ ผู้ป่วยควรนั่งพัก งดรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มใดๆ
เกณฑ์การวินิจฉัยเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM)
การแปลผล 100 gm OGTT
Fasting Blood Sugar ≥ 95 mg/dl
1 hr. ≥ 180 mg/dl
2 hr. ≥ 155 mg/dl
3hr. ≥ 140 mg/dl
ผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป วินิจฉัยว่า GDM
GDMA1 วินิจฉัยโดยค่าดังกล่าวผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป โดยค่า Fasting น้อยกว่า 95 mg/dl และค่า 2 hr. postprandial น้อยกว่า 120 mg/dl
GDMA2 วินิจฉัยโดยค่าดังกล่าวผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป โดยค่า Fasting ≥ 95 mg/dl หรือค่า 2 hr. postprandial ≥ 120 mg/dl และได้รับการรักษาด้วยการฉีด Insulin
การวินิจฉัย Pregestational DM ในสตรีตั้งครรภ์
เป็นโรคเบาหวานก่อนการตั้งครรภ์
Fasting plasma glucose จาก 100 gm OGTT ≥ 126 mg/dl
Random plasma glucose ≥ 200 mg/dl ร่วมกับมีอาการและอาการแสดงของโรคเบาหวาน เช่น polydipsia , polyuria , unexplained weight loss (ตรวจ FBS และ HbA1C อีกครั้ง)
:warning:ในกรณีผลตรวจค่า 100 gm OGTT ผิดปกติ 1 ค่า ให้ตรวจซ้ำภายใน 1 เดือน
:warning:ในกรณีผลตรวจค่า 100 gm OGTT ปกติทุกค่า ให้ตรวจซ้ำอีกเมื่ออายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
สตรีตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงตรวจคัดกรองเบาหวานทันที โดยวิธี 50 gm GCT
50 gm GCT < 140 mg/dl
ตรวจ 50 gm GCT ซ้ำที่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์ หรือเมื่อมีอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
50 gm GCT ≥ 140 mg/dl
ตรวจ 100 gm OGTT
ค่าผิดปกติ 1 ค่า
นัดตรวจ 100 gm OGTT ซ้ำ ภายใน 1 เดือน
ค่าผิดปกติ ≥ 2 ค่า
GDM
FBS < 95 mg/dl and 2 hr. postorandial < 120 mg/dl
GDMA1
FBS ≥ 95 mg/dl and / or 2 postprandial ≥ 120 mg/dl
GDMA1/GDMA2 (ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉีด Insulin)
ค่าผิดปกติทุกค่า
ตรวจ 100 gm OGTT ซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
(Gestational Diabetes Mellitus)
ความหมาย
มีความผิดปกติของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต เนื่องจากความไม่สมดุลระหว่างความต้องการและการสร้างจากภาวะดื้ออินซูลิน หรือการใช้อินซูลินของร่างกาย ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
พยาธิสภาพ
ฮอร์โมน hPL (Human placental lactogen สร้างจากรก) → เกิด insulin resistance → เนื้อเยื่อน้ำน้ำตาลเข้าสู่เซลล์ไม่ได้ → น้ำตาลในเลือดสูง
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมาก หิวบ่อย น้ำหนักลด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย คันตามตัว (อาจไม่พบอาการแสดงที่ชัดเจน)
HPL ที่เพิ่มระดับขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ มีฤทธิ์สำคัญคือการสลายไขมัน และต้านอินสุลิน ทำให้ขณะตั้งครรภ์อยู่ในภาวะ diabetogenic state คือความสามารถในการนำน้ำตาลเข้าเซลล์ลดลง ทำให้มีภาวะ post-prandial hyperglycemia ร่างกายปรับตัวสร้างระดับอินสุลินเพิ่มขึ้นตามอายุครรภ์
fasting hypoglycemiaทั้งที่อยู่ในภาวะ diabetogenic state
ประเภท
GDM
Class A1
Beta cell ของตับอ่อนถูกทำลายจากปฏิกิริยาภูมิต้านทานในร่างกาย
การรักษา
: ควบคุมอาหาร
Class A2
Beta cell ของตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้เพียงพอ
การรักษา
: ควบคุมอาหารและได้รับอินซูลิน
Overt DM
พบก่อน 20 wks
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ด้านสตรีตั้งครรภ์
Spontaneous abortion
Gestational hypertension / Preeclampsia
polyhydramnios
DKA
Hypo - Hyperglycemia
Infection
Dystocia
Preterm
PPH
ด้านทารกในครรภ์
Congenital malformation
Macrosomia / แรกคลอด > 4,000 กรัม /Birth injury
IUGR
RDS
Hypoglycemia ในแรกเกิด
Hyperbilirubinemia
Hypocalcemia
Polycythemia
ภาวะตายคลอด
ข้อมูลพื้นฐาน
ประวัติทั่วไป
หญิงตั้งครรภ์อายุ 34 ปี
G1P0000
อาชีพ : ค้าขาย
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 68 kg.
ส่วนสูง 158 cm.
BMI = 27.24 (อ้วน / โรคอ้วนระดับ 2)
บ้านเช่า 3 ชั้น อยู่ชั้น 3
รายได้ : 15,000/เดือน
การศึกษา ป.4
Obesity
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง
เบาหวานในขณะตั้งครรภ์
ภาวะแท้งบุตร
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อทารก
เสี่ยงต่อภาวะตายคลอด (Stillbirth)
เสี่ยงทารกพิการแต่กำเนิด
เสี่ยงคลอดก่อนกำหนด / หน้าท้องขนาดใหญ่กว่าอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดเสี่ยงน้ำตาลในเลือดต่ำ
เสี่ยงภาวะเลือดข้น
เสี่ยงการบาดเจ็บจากการคลอด (Macrosomia ทารกตัวโต)
:check:ต้องคัดกรองเบาหวาน
ประวัติการเจ็บป่วย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ปฏิเสธ
ประวัติการผ่าตัด : ปี 2558 ผ่าตัด cyst ที่แขน คลิกนิกบ่อนไก่
ประวัติการแพ้ยา/แพ้อาหาร : ปฏิเสธ
ได้รับวัคซีนบาดทะยัก : 2 เข็ม (ครั้งแรก 6 ธ.ค. 2564 ครั้งที่ 2 15 ม.ค. 2564)
11 แบบแผนกอร์ดอน (Gordon’s topology)
แบบแผนที่ 2 อาหารและการเผาผลาญอาหาร
ก่อนตั้งครรภ์
ชอบรับประทานของหวาน
ผลไม้ : แก้วมังกร ชมพู่ แตงโต
ดื่มน้ำอัดลม 1 ลิตร/วัน
ขณะตั้งครรภ์
ทำอาหารทานเอง เช่น ต้มจืด ผัดผัก
ดื่มน้ำใบเตยต้มทุกวัน
ข้าวที่รับประทาน คือ ข้าวไรซเบอร์รี่ 1ทัพพี /มื้อ
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
ขณะตั้งครรภ์ปัสสาวะ 10-20 ครั้ง/วัน
อุจจาระ 1 ครั้ง/วัน
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย
ออกกำลังกายโดยการเดินเล่น
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนและนอนหลับ
เข้านอน : 21.00 น.
ตื่นนอน : 06.00 น.
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
แบบแผนที่ 10 การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
ไม่มีความวิตกกังวล
ประวัติการตรวจร่างกายและการตรวจครรภ๋
GA 37+2 wks by U/S
G1P0000
LPM จำไม่ได้
EDC by U/S 21 เมษายน 2564
ฝากครรภ์ครั้งแรก
ฝากครรภ์ทั้งหมด
น้ำหนักปัจจุบัน 71.6
BP : 74/59 mmHg. repeat 112/72 mmHg. ( 05/04/2564)
PR : 91/min repeat 96/min ( 05/04/2564)
Presumptive sign
ประจำเดือนขาด 1 เดือน
Probable sign
Urine pregnancy test : Positive
ไตรมาสที่ 1
ก่อนตั้งครรภ์หนัก 68 kg.
(ควรเพิ่ม 0.5-2kg./ไตรมาส)
28 ก.ย. 63
น้ำหนัก 71.6 (เพิ่มขึ้น 3.6 kg.)
BP 129/79 mmHg.
Pulse 91/min
HF can't be palpable
GA 10+1 wks by U/S
คลื่นไส้ ไม่อาเจียน
ได้รับยา
Iodine 1x1 po pc #60
Folic 1x1 po pc #60
Besix 1x1 po pc #70
Dimenhydrinate 1x3 po pc #70 (แก้วิงเวียน)
9 ต.ค. 63
น้ำหนัก 71.3 (ลดลง 0.3kg)
BP 124/70 mmHg.
Pulse 83/min
HF just palpable
GA 11+6 wks by U/S
OGTT
FBS = 73 :green_cross:
1 hrs = 154 :green_cross:
2 hrs = 167 :check:
3 hrs = 127 :green_cross:
ไตรมาสที่ 2
ANC ครั้งแรก GA 10+1 wks by U/S (28 กย 2563)
นน. เพิ่มขึ้น 2.9 kg. (ควรเพิ่ม 0.5 kg./wk , ~7kg./ไตรมาส)
6 พ.ย. 63
น้ำหนัก 70.9 (ลดลง 0.4 kg)
BP 117/79 mmHg.
Pulse 90/min
HF 2/3 > SP
FHS 140 ข้างซ้าย
GA 15+6 wks by U/S
OGTT
FBS = 71 :green_cross:
1 hrs = 170 :green_cross:
2 hrs = 160 :check:
3 hrs 117 :green_cross:
ได้รับยา
Nataral 1x1 ac #60
Caltab 1x1 ac #60
4 ธ.ค. 2563
น้ำหนัก 72.1 (เพิ่มขึ้น1.2 kg.)
BP : 126/68 mmHg.
Pulse : 87/min
HF umbilicus CMS 18 cm. ส่วนนำ Vx การลง HF
FHS 145 ข้างซ้าย
GA 19+6 wks by U/S
OGTT
FBS = 84 :green_cross:
1 hrs = 219 :check:
2 hrs = 202 :check:
3 hrs =160 :check:
ได้รับ dT1
9 ธ.ค. 2563
น้ำหนัก 71 kg (ลดลง1.1 kg )
BP 111/65 mmHg.
Pulse 84/min
HF : umbilicus ส่วนนำ Vx การลง HF
GA 21+6 wks by U/S
FBS = 75 gm.
2 hr Postprandial 141 (poor control R/O GDMA2) ส่ง consult Med
ไตรมาสที่ 3
15 ม.ค. 2564
น้ำหนัก 70.4 kg
BP 111/69 mmHg.
Pulse 97/min
HF 3/4 > O 27cm.
FHS 140/min
GA 31 +2 wk by U/S
OGTT
FBS = 75
2 hr Postprandial = 141
dT2
GDMA2 : on Insulin อยู่
19 ก.พ. 2564
น้ำหนัก 71 kg (เพิ่มขึ้น 0.6 kg.)
BP 107/79 mmHg.
Pulse 100/min
รับทราบคำแนะนำลูกดิ้นแล้ว
HF 3/4 > O ส่วนนำ Vx HF
GA 31+2 wk by U/S
Repeat Lab
-GDMA2 on Insulin 10-6-0
U/S single viable fetus : SVF
EFW 1583 gm.
23 ก.พ. 2564
-น้ำหนัก 71 kg.
BP 130/81 mmHg.
Pulse 102/min
HF 3/4 > O 18 cm ส่วนนำ Vx HF
FHS 147/min ดิ้นดี
GA 31+6 wk by U/S
On insulin 10-6-10
2 มี.ค. 2564
น้ำหนัก 71.3 kg.
BP 115/63 mmHg.
Pulse 94/min
HF 3/4 > O 32 cm. ส่วนนำ Vx HF
GA 32+6 wk by U/S
GDMA2 → NST = reactive
26 มี.ค. 2564
น้ำหนัก 72.4 kg.
BP 116/69 mmHg.
Pulse 99/min
HF 3/4 > O 36 cm ส่วนนำ Vx HF
GA 36+2 wk by U/S
-NST no UC
GDMA2 รักษา รพ.ตร. On Novorapid 10-2-0น. 14 unit
30 มี.ค. 2564
น้ำหนัก 71.5 kg
BP 112/68 mmHg.
Pulse 101/min
HF 3/4 >O 37 cm ส่วนนำ Vx HF
GA 36+6 wk by U/S
NST on UC
2 เม.ย. 2564
น้ำหนัก 71.1 kg
BP 111/72 mmHg
Pulse 94/min
HF 3/4>O 37 cm ส่วนนำ Vx HF
-FSH 132
GA 37+2 wk by U/S
GDMA2 → NST = reacive . no uc ลูกดิ้นดี .
5 เม.ย. 2564
น้ำหนัก 71.6 kg.
BP 74/59 : ครั้งที่ 1
112/72 : ครั้งที่ 2
Pulse 91,96 /min
HF 3/4 > O 37 cm ส่วนนำ Vx HF
FHS 146/min
GA 37+5 wk by U/S
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
:red_flag:ไตรมาสที่ 2
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากมีภาวะของโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (ปัญหาต่อเนื่อง)
ข้อมูลสนับสนุน
เป็นเบาหวานขณะต้งครรภ์
Obesity
:pencil2:
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การแท้งเอง การคลอดก่อนกำหนด ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง/ต่ำ ติดเชื้อ
:pencil2:
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน สามารถบอกอาการผิดปกติที่ต้องมาโรงพยาบาล
ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่เกิน 140 mg/dL และไม่ต่ำกว่า 70 mg/dL
ทารกดิ้น > 10 ครั้ง/วัน
ไม่มีมูกเลือดออกทางช่องคลอด
FHS 110-160/min
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนดังต่อไปนี้
1.1 การคลอดก่อนกำหนด
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์มาตรวจตามแพทย์นัดอย่างสม่ำเสมอ
นอนหลับพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง
สังเกตอาการเจ็บครรภ์เตือน : มดลูกหดรัดตัวไม่รุนแรงและไม่สม่ำเสมอ , เจ็บครรภ์นานๆ ครั้งละ 15 นาที/ครั้ง พักแล้วหาย
1.2 ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง/ต่ำ
แนะนำสังเกตอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง : เพลีย หน้าแดง ผิวร้อน ปากแห้ง กระหายน้ำ ปัสสาวะน้อย หายใจเร็วลึก ลมหายใจมีกลิ่น acetone เซื่องซึม ปวดศีรษะ ปฏิกิริยาโต้ตอบลดลง
แนะนำสังเกตอาการแสดงของน้ำตาลในเลือดต่ำ : ตัวสั่น เหงื่อออก ผิวซีด ตัวเย็น ปวดศีรษะ หิว ตาพร่ามัว
1.3 การติดเชื้อ
แนะนำสังเกตอาการ : มีไข้สูง เจ็บคอ มีเสมหะ ปัสสาวะแสบขัด ตกตะกอน ช่องคลอดมีความเป็นด่าง เกิดการอักเสบ
1.4 การแท้งเอง
แนะนำสังเกตอาการ : ปวดท้องน้อย มีเลือดหรือมูกออกทางช่องคลอด มดลูกแข็งตัวหรือบีบตัวบ่อย ทารกดิ้นน้อยลงหรือไม่ดิ้นเลย
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ควบคุมอาหารให้ได้รับแคลอรี่วันละ 30-35 kcal/kg คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 40-50 โปรตีน ร้อยละ 20-25 ไขมันร้อยละ 20-30 เพื่อไม่ให้เกิดคีโตนคั่งในเลือด และน้ำหนักตัวที่ควรเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์คือ 5-9 kg.
แนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง เพื่อป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ น้ำตาล น้ำผึ้ง ขนมหวานต่างๆ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ผลไม้รสหวาน เช่น ลำไย มะม่วงสุก เป็นต้น
แนะนำเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เพื่อกระตุ้นให้เพิ่มการใช้กลูโคส ทำให้อินซูลินดูดซึมได้ดีขึ้น ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ เช่น การเดินวันละ 15-30 นาที 4-6 ครั้ง/สัปดาห์
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์มาตรวจตามนัดทุกครั้ง เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ฉีดยาอินซูลิน เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดทุกวันอย่างสม่ำเสมอ ตามแผนการรักษาของแพทย์
:red_flag: ไตรมาสที่ 1
ข้อมูลสนับสนุน
เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDMA2)
มีภาวะ Obesity
:pencil2:
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การแท้งเอง การคลอดก่อนกำหนด ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง/ต่ำ ติดเชื้อ
:pencil2:
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน สามารถบอกอาการผิดปกติที่ต้องมาโรงพยาบาล
ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่เกิน 140 mg/dL และไม่ต่ำกว่า 70 mg/dL
ทารกดิ้น > 10 ครั้ง/วัน
ไม่มีมูกเลือดออกทางช่องคลอด
FHS 110-160/min
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนดังต่อไปนี้
1.1 การคลอดก่อนกำหนด
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์มาตรวจตามแพทย์นัดอย่างสม่ำเสมอ
นอนหลับพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง
สังเกตอาการเจ็บครรภ์เตือน : มดลูกหดรัดตัวไม่รุนแรงและไม่สม่ำเสมอ , เจ็บครรภ์นานๆ ครั้งละ 15 นาที/ครั้ง พักแล้วหาย
1.2 ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง/ต่ำ
แนะนำสังเกตอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง : เพลีย หน้าแดง ผิวร้อน ปากแห้ง กระหายน้ำ ปัสสาวะน้อย หายใจเร็วลึก ลมหายใจมีกลิ่น acetone เซื่องซึม ปวดศีรษะ ปฏิกิริยาโต้ตอบลดลง
แนะนำสังเกตอาการแสดงของน้ำตาลในเลือดต่ำ : ตัวสั่น เหงื่อออก ผิวซีด ตัวเย็น ปวดศีรษะ หิว ตาพร่ามัว
1.3 การติดเชื้อ
แนะนำสังเกตอาการ : มีไข้สูง เจ็บคอ มีเสมหะ ปัสสาวะแสบขัด ตกตะกอน ช่องคลอดมีความเป็นด่าง เกิดการอักเสบ
1.4 การแท้งเอง
แนะนำสังเกตอาการ : ปวดท้องน้อย มีเลือดหรือมูกออกทางช่องคลอด มดลูกแข็งตัวหรือบีบตัวบ่อย ทารกดิ้นน้อยลงหรือไม่ดิ้นเลย
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ควบคุมอาหารให้ได้รับแคลอรี่วันละ 30-35 kcal/kg คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 40-50 โปรตีน ร้อยละ 20-25 ไขมันร้อยละ 20-30 เพื่อไม่ให้เกิดคีโตนคั่งในเลือด และน้ำหนักตัวที่ควรเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์คือ 5-9 kg.
แนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง เพื่อป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ น้ำตาล น้ำผึ้ง ขนมหวานต่างๆ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ผลไม้รสหวาน เช่น ลำไย มะม่วงสุก เป็นต้น
แนะนำเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เพื่อกระตุ้นให้เพิ่มการใช้กลูโคส ทำให้อินซูลินดูดซึมได้ดีขึ้น ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ เช่น การเดินวันละ 15-30 นาที 4-6 ครั้ง/สัปดาห์
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์มาตรวจตามนัดทุกครั้ง เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ฉีดยาอินซูลิน เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดทุกวันอย่างสม่ำเสมอ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ไตรมาสที่ 3
ไม่สุขสบาย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในไตรมาสที่ 3 (นอนไม่หลับ หายใจลำบาก ปัสสาวะบ่อย)
:pencil2:
ข้อมูลสนับสนุน
S : หญิงตั้งครรภ์บอกว่า " นอนไม่หลับ บางครั้งหายใจไม่ทั่วท้อง ปัสสาวะ 10-20ครั้ง/วัน "
O : หญิงตั้งครรภ์ G1P0000 GA 37+5 wks by U/S
:pencil2:
วัตถุประสงค์
: เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะสุขสบาย
:pencil2:
เกณฑ์การประเมิน
หญิงตั้งครรภ์รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น
หญิงตั้งครรภ์เข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกาย
:pencil2:
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายเกี่ยวกับอาการปัสสาวะบ่อย เนื่องจากไตรมาสที่ 3 มดลูกจะโตเมื่อนอน ตัวมดลูกจะไปกดทับที่ inferior vena cava และหลอดเลือดดำใหญ่ ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตมากขึ้น จึงมีการกรองปัสสาวะเพิ่มขึ้น พร้อมทั้งให้คำแนะนำกับหญิง
ตั้งครรภ์ ดังนี้
แนะนำสังเกตอาการผิดปกติที่แสดงถึงการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะแสบขัด , ปัสสาวะมีเลือดปน
แนะนำการถ่ายปัสสาวะทุกครั้งที่ปวด ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
แนะนำให้ดื่มน้ำสะอาดในเวลากลางวัน 6-8 แก้ว และพยายามไม่ดื่มน้ำหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนก่อนนอน
ป้องกันอุบัติเหตุระหว่างทางเดินไปยังห้องน้ำ
อธิบายเกี่ยวกับอาการนอนไม่หลับ เนื่องจากมดลูกโตทำให้นอนลำบาก ไม่สุขสบายเวลานอน และทารกในครรภ์มัก ดิ้นแรงทำให้มารดารู้สึกไม่สุขสบายหรือเจ็บได้ และเมื่ออายุครรภ์ใกล้ครบกำหนดทำให้มารดาวิตกกังวล เกี่ยวกับการคลอดจนนอนไม่หลับ สามารถให้คำแนะนำได้ ดังนี้
แนะนำให้พยายามผ่อนคลายอารมณ์
การอาบน้ำอุ่น ดื่มเครื่องดื่มอุ่น ๆ หรืออ่านหนังสือเบาสมองจะช่วยให้หลับง่ายขึ้น
การนวดหลังด้วยโลชั่นจะทำให้รู้สึกผ่อนคลาย หลับได้ง่ายขึ้น
ควรนอนพักกลางวันอย่างน้อยวันละ 30 นาที
แนะนำให้นอนตะแคงให้หมอนบาง ๆ หนุนท้องและให้วางขาบนหมอนเพื่อให้กล้ามเนื้อหย่อนตัว
อธิบายเกี่ยวกับอาการหายใจลำบาก เนื่องจากมดลูกใหญ่ขึ้นไปดันกล้ามเนื้อกระบังลมทำให้กล้ามเนื้อกระบังลมหดตัว
ได้น้อย อาการนี้จะเกิดขึ้นในระยะหนึ่ง เมื่อท้องลดอาการก็จะหายไปได้เอง
:pencil2:
การประเมินผล
หญิงตั้งครรภ์เข้าใจและสามารถตอบคำถามได้ในการดูแลตนเอง
หญิงตั้งครรภ์มีความสุขสบายมากขึ้น
การให้คำแนะนำแต่ละไตรมาส
ไตรมาสที่ 1 (1Trimester)
แนะนำการปฏิบัติตัว คือ ไม่ควรใส่ชุดรัดรูปจนเกินไป ไม่ควรใส่รองเท้าส้นสูง
นอนหลับพักผ่อนวันละ 8-10 ชั่วโมง ควรนอนกลางวันอย่างน้อยวันละ 1/2- 1 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 3 เดือนแรก เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน
ควรออกกำลังกายอาทิตย์ละ 3-4 วัน โดยไม่ควรออกกำลังกายที่ใช้แรงมาก ควรออกกำลังกายที่เบา เช่น ยืดเหยียดขา
ให้ความรู้และสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ เช่น อาการปวดท้องน้อยหรือมีเลือดออกทางช่องคลอด
อธิบายอาการที่จะเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้หลังการตั้งครรภ์ เช่น ปัสสาวะบ่อย ท้องผูก เป็นตะคริว
น้ำหนักที่ควรขึ้นอยู่ที่ 0.5 - 2 kg.ในไตรมาสแรก
Food for First Trimester อาหารเสริมสร้างเซลล์
โปรตีน = เนื้อสัตว์ทุกชนิด นม ไข่ หรือถั่ว (70 g/day)
แคลเซียม = นม ผักใบเขียว ปลาตัวเล็กๆ
กรดโฟลิค = ผักใบเขียว
เหล็ก = เนื้อแดง ไข่แดง ตับ
ไอโอดีน = อาหารทะเล
สังกะสี = ถั่ว กุ้ง หอยแมลงภู่
รับประทานผักและผลไม้ตามฤดูกาล ผักใบเขียวเน้นประเภทกากใย,vit C
ให้รับประทาน Carbohydrate ในปริมาณที่เท่าเดิม (BMI ปกติ)และไม่รับประทานอาหารที่มีน้ำตาลสูง
ให้ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้วและนมประมาณ 2-3 แก้ว หรือน้ำเต้าหู้
หลีกเลี่ยงอาหาร fast food ของทอด หลีกเลี่ยงชา กาแฟ
รับประทานอาหารรสชาติเบาๆ ไม่รับประทานอาหารในช่วงที่รู้สึกคลื่นไส้ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง อาหารที่มีกลิ่นรุนแรง เพราะ อาหารประเภทนี้จะยิ่งทำให้รู้สึกคลื่นไส้มากขึ้น
ไตรมาสที่ 2 ( 2 Trimester)
ทารกเริ่มดิ้นเป็นเวลา มีเวลาตื่น-หลับ ให้นับทารกดิ้น โดยนับให้ได้มากกว่า 10 ครั้งต่อวัน โดยนับหลังมื้ออาหาร ก่อนนอน โดยเปรียบเทียบหากพบว่าทารกดิ้นน้อยลง ให้รีบมาพบแพทย์
มีเพศสัมพันธ์ได้ปกติ แต่ควรงดในรายที่มีประวัติการแท้ง หรือมีเลือดออกทางช่องคลอดงดมี sex!! เด็ดขาด
ท่า-ท่าที่ผู้หญิงอยู่ข้างบน ไม่รุนแรง
น้ำหนักควรขึ้น 0.5-1 kg./wk ควรซึ่งน้ำหนักทุกสัปดาห์
-สังเกตอาการผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์ ex.ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ มีน้ำเดิน ปวดท้องน้อย
ระวังการติดเชื้อ -ดูแลความสะอาด ควรใส่หน้ากากอนามัยขณะออกข้างนอกและล้างมือบ่อยๆ
ส่งเสริมพัฒนาการทารกในครรภ์
:sunny: นั่งเก้าอี้โยกมากกว่า 10 สัปดาห์
:sunny: เล่านิทานให้ฟังหรือพูดคุยด้วยวลีสั้นๆมีความหมาย 10-15 นาที ควรทำหลังอายุครรภ์ 20 wks.
:sunny: สัมผัสลูกน้อยและพูดคุยขณะลูบท้อง โดยสามารถเริ่มทำได้ตั้งแต่เริ่มเข้าไตรมาส 2
:sunny: ให้สามีสัมผัสและคุยกับลูกน้อยประโยคเดิมๆ 5-10 นาทีทุกวัน
:sunny: กระตุ้นและพัฒนา cell สมองด้วยการส่องไฟบริเวณหน้าท้อง
Food for 2 Trimester อาหารถูกสัดส่วน และวิตามิน
วิตามินบี 1 2 6 12 = เนื้อสัตว์ นม ปลา ข้าวซ้อมมือ
วิตามินเอ = นม ไข่แดง ตับ
วิตามินซี = ส้ม มะละกอ มะเขือเทศ ฝรั่ง มะนาว
วิตามินดี = ไข่แดง ปลา โยเกิร์ต นม
เบต้าแคโรทีน = แครอท บร็อกโคลี่
ทารกในครรภ์ได้รับสารอาหาร และออกซิเจนจากแม่ผ่านทางรก และสายสะดือ คุณจึงควรที่จะมีลักษณะการทานอาหารที่เป็นสัดส่วน แบ่งทานมื้ออาหารเป็นมื้ออาหารย่อยๆ สัก 4-6 มื้อ แต่ทานครั้งละน้อยๆ พออิ่ม แต่ไม่ควรให้อิ่มมากจนแน่นท้อง
ทารกกำลังมีการสร้างเนื้อสร้างตัว สร้างระบบอวัยวะต่างๆ
ไตรมาสที่ 3 ( 3 Trimester)
แนะนำมารดาในการนับลูกดิ้นทุกวัน โดยการนับหลังรับประทานอาการ เช้า กลางวัน เย็น เป็นเวลา 1 ชม. ลูกต้องดิ้นอย่างน้อย 3 ครั้ง รวมกัน 3 มื้อ ต้องดิ้นไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง จึงถือว่าปกติ แลหากมีอาการผิดปกติ เช่น ลูกไม่ดิ้น หรือลูกดิ้นน้อยลง ให้รีบมาพบแพทย์
อาการเจ็บครรภ์ :warning:
เจ็บครรภ์จริง (True labor pain)
ขณะเดินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูกเพิ่มขึ้น
การหดรัดตัวสม่ำเสมอ เจ็บทุก 5 นาที
ปากมดลูกถ่างขยายและบางลง
ไม่สุขสบายบริเวณหลังและท้อง
ความแข็งแรงของการหดรัดตัวของมดลูกเพิ่มขึ้นขณะเดิน
เจ็บครรภ์เตือน (False labor pain)
อาการท้องแข็งเป็นพักๆ ไม่สม่ำเสมอ พักแล้วอาการหายไปได้เอง
การเดินไม่มีผลต่อการเพิ่มหรือลดลงของการหดรัดตัวของมดลูก
ไม่มี mucous bloody show
ไม่สุขสบายบริเวณหน้าท้อง
:warning:
ภาวะฉุกเฉินและอาการที่สำคัญที่ต้องรีบมาโรงพยาบาล
อาการท้องแข็ง หรือเจ็บครรภ์ทุก 5-10นาที
ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่
มีน้ำเดิน (น้ำใสๆ คล้ายปัสสาวะราด)
มีมูกเลือด หรือ เลือดสดๆออกทางช่องคลอด
:red_flag:
อาการที่พบบ่อยในหญิงตั้งครรภ์
ตกขาว 👉🏻ล้างทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ห้ามสวนล้าง คัน มีกลิ่น รีบมาพบแพทย์
บวม 👉🏻หายเองได้ หลีกเลี่ยงอาหารเค็ม ยกขาชึ้นบ่อยๆ
ตะคริว👉🏻กิน Ca2+,ดัดปลายเท้า,ดื่มนมวันละ 2-3 แก้ว
เส้นเลือดขอด👉🏻งดยืนหรือนอนนานๆให้ยกขาสูง
คันผิวหนัง 👉🏻 ทาครีมบำรุง ห้ามแกะเกา
ปวดหลัง 👉🏻 ยืน นั่งหลังตรง ไม่ใส่รองเท้าส้นสูง
ปัสสาวะบ่อย 👉🏻 ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
ริดสีดวงทวาร 👉🏻 ดื่มน้ำ 8-10 แก้ว ทานอาหารที่มีกากใย
หน้ามืด👉🏻เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ นอนตะแคงซ้าย
แสบร้อนในอก👉🏻เลี่ยงอาหารที่ก่อให้เกิดแก๊สหรือมีแก๊สมาก ย่อยยาก
คลื่นไส้ อาเจียน 👉🏻แบ่งกิน กินน้อยแต่บ่อยมื้อ ดื่มน้ำเยอะๆ
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภูมิคุ้มกันวิทยา ( 19/02/64)
VDRL : Non reactive
HBsAg : Negative
HIV Ab : Negative
โลหิตวิทยา ( 19/02/64)
Hemoglobin (Hb) =10.9 g/dL (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 12.3-15.5
Hematocrit (Hct) = 33.6 % (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 36.8-46.6
RBC = 4.19 10^6/uL (ปกติ) ค่าปกติ 3.96-5.29
MCV = 80.2 fL (ปกติ) ค่าปกติ 79.9-97.6
MCH = 26.0 pg (ปกติ) ค่าปกติ 25.9-32.4
WBC = 11.97 10^3/uL (สูงกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 4.24-10.18
Neutrophil = 73.0 % (สูงกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 48.1-71.2
Lymphocyte =19.1 % (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 21.1-42.7
Glucose Tolerance Test (06/11/63)
FBS = 71 :green_cross:
1 hr = 170 :green_cross:
2 hr = 160 :check:
3 hr 117 :green_cross:
PCR for Alpha Thalassemia
(09/10/2563)
Negative for Alpha Thalassemia 1 (SEA, THAI deletion type) :Negative
Hb typing (09/10/63)
สามี
Hb typing A2A
Hb A2 2.6 %
Hb A 97.4 %
MCV (Hb typing) 91.7 fl
Interprete : Normal or non clinically significant thalassemis
โลหิตวิทยา (09/10/63)
Hemoglobin (Hb) =15.7 g/dL (ปกติ) ค่าปกติ 12.3-15.5
Hematocrit (Hct) = 46.0 % (ปกติ) ค่าปกติ 36.8-46.6
RBC = 5.02 10^6/uL (ปกติ) ค่าปกติ 3.96-5.29
MCV = 91.7 fL (ปกติ) ค่าปกติ 79.9-97.6
MCH = 31.2 pg (ปกติ) ค่าปกติ 25.9-32.4
WBC = 10.76 10^3/uL (ปกติ) ค่าปกติ 4.03-10.77
Neutrophil = 74.1 % (สูงกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 48.1-71.2
Lymphocyte =20.2 % (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 21.1-42.7
Hb typing (28/09/63)
Hb typing CS A2A
Hb A2 1.9 %
Hb A 97.8 %
Hb CS 0.3 %
MCV (Hb typing) 77.1 fl
Interprete : Suspected Hb constant spring
Lab investigation : ควรตรวจหายีน Alpha thalassemia
โลหิตวิทยา (28/09/63)
Hemoglobin (Hb) =11.2 g/dL (ต่ำกว่าปกติ) ค่าปกติ 12.3-15.5
Hematocrit (Hct) = 34.7 % (ต่ำกว่าปกติ) ค่าปกติ 36.8-46.6
RBC = 4.49 10^6/uL (ปกติ) ค่าปกติ 3.96-5.29
MCV = 77.1 fL (ต่ำกว่าปกติ) ค่าปกติ 79.9-97.6
MCH = 25.0 pg (ต่ำกว่าปกติ) ค่าปกติ 25.9-32.4
WBC = 13.45 10^3/uL (สูงกว่าปกติ) ค่าปกติ 4.03-10.77
Neutrophil = 74.4% (สูงกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 48.1-71.2
Lymphocyte =18.2 % (ต่ำกว่าเกณฑ์) ค่าปกติ 21.1-42.7
Glucose (50 gm) ((28/09/63)
152 mg/dl (สูงกว่าปกติ) ค่าปกติ 74.106
งานธนาคารเลือด (28/09/63)
ABI Group : B
Rh : Negative
IAT/Ab screening : Negative
Glucose Tolerance test (09/10/2563)
FBS = 73 :green_cross:
1 hr = 154 :green_cross:
2 hr = 167 :check:
3hr = 127 :green_cross:
4 ธ.ค. 2563
OGTT
FBS = 84 :green_cross:
1 hrs = 219 :check:
2 hrs = 202 :check:
3 hrs =160 :check:
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์