Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Myoma anterior fundus - Coggle Diagram
Myoma anterior fundus
-
1. ข้อมูลพื้นฐาน
🧩1.1 ข้อมูลส่วนบุคคล
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 32 ปี
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สถานภาพ สมรส
อาชีพ แม่บ้าน พักอาศัยที่แฟลตตำรวจ
อาศัยอยู่ด้วยกัน 2 คน (สามี หญิงตั้งครรภ์)
รับไว้ในความดูแล 2 เมษายน 2564
-
2. การตรวจร่างกาย
2.1 สัญญาณชีพแรกรับ
- ความดันโลหิต 116/72 mmHg (ค่าปกติ)
- อัตราการเต้นของหัวใจ 105 BPM (ค่าปกติ)
น้ำหนัก
น้ำหนักตัวก่อนการตั้งครรภ์ 81.5 kg
น้ำหนักตัวขณะตั้งครรภ์ 87.6 kg เพิ่มขึ้น 6.1 kg
- ไตรมาสที่ 1 GA 12 wks >> 81.9 kg เพิ่มขึ้น 0.4 kg (0.03 kg/wk)
🏁ปกติ 0.5 - 2 kg/ไตรมาส
- ไตรมาสที่ 2 GA 24 wks >> 88.5 kg เพิ่มขึ้น 6.6 kg (0.55 kg/wk)
🏁 ปกติ 0.25 kg/wk
- ไตรมาสที่ 3 GA 26 wks >> 87.6 kg ลดลง 0.9 kg (0.45 kg/wk)
🏁 ปกติ 0.25 kg/wk
- ปกติ BMI >= 30 kg/m^2 (Obese) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ตลอดการตั้งครรภ์ 5 - 7 kg
🚩มารดามีน้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ เท่ากับ 6.1 kg (0.2 kg/wk)
-
3. ผลการตรวจ Lab
Urine Analysis
- Albumin >> Negative
- Glucose >> Negative
การคัดกรองเบาหวาน
17/11/63 (GA 6^4 wks by date)
- BS 50 gm. >> 150 mg/dL
2 wks ผ่านไป 4/12/63 (GA 9 wks)
- 100 Gmail. OGTT >> 86,157,138,82
Repeat GA 24 - 28 wks 19/03/64(GA 24 wks)
- BS 50 gm. >> 146 mg/dL
2 wks ผ่านไป 2/04/64 (GA 26 wks)
- OGTT
เคมีคลินิก (17/11/63)
- Specific gravity (UA) 1.013
- Ketone (UA) Negative
- Glucose (UA) Negative
- Albumin (UA)
- pH (UA) 6.5
- Bile (UA) Negative
- Urobilinogen (UA) Normal
- Leucocyte 2+
- Nitrite Negative
- Ascorbic acid Negative
Microscopic Exam (17/11/63)
- R.B.C (UA) not found
- W.B.C 3-5 /HPF
- Epithelial cell 2-3 /HPF
- Mucous Trace
Complete Blood Count (17/11/63)
- Hemoglobin (Hb) 13.7 g/dL
- Hematocrit (Hct) 41.4 %
- RBC 4.92 10^6/uL
- MCV 84.0 fL
- MCH 27.9 pg
- MCHC 33.2 g/dL
- RDW 13.1 %
- WBC 10.00 10^3/uL
- NRBC 0 /100 WBC
- Corrected WBC 10.00 10^3/uL
- Neutrophil 63.7 %
- Lymphocyte 31.9 %
- Monocyte 2.7 %
- Eosinophil 1.1 %
- Basophil 0.6 %
- Platelet Count 226 10^3/uL
- MPV 9.9 fL
Screening Test for Thalassemia (17/11/63)
- Hb E Screening (DCIP) Negative
- ABO group : B
- Rh group : Positive
- Ab screening : Negative
ภูมิคุ้มกันวิทยา (17/11/63)
- VDRL : Non-reactive
- HBsAg : Negative
- HIV Ab : Negative
Hb typing (5/1/58)
- Hb Typing : A2A
- Hb A2 : 2.8 %
- Hb A : 97.2 %
- MCV (Hb typing) : 81.90 fl
Normal or Non Clinically Significant Thalassemia
- 1 more item...
4. พยาธิ
Myoma Uteri
เซลล์กล้ามเนื้อมดลูก >> เซลล์กล้ามเนื้อเรียบ >> แบ่งตัวมากผิดปกติ >> วางตัวกันเป็นวงๆ + มี collagen Fibronectin Proteoglycan >> ถ้ามองด้วยตาเปล่า จ ะมองเห็นเป็นก้อนสึขาวเทาเป็นวงๆ (Whorl-like) เหมือนก้นหอย >> เปลือกหุ้มก้อน (Pseudo-capsule) >> กล้ามเนื้อเรียบจะทับจนแบน >> บางภาวะมีการเสื่อมสลายที่กลางก้อน >> มักพบขณะตั้งครรภ์ >> หลังจากนั้นเกิดเป็น Mixoid degeneration >> Cystic degeneration >> Dystrophic calcification >> ตำแหน่งที่เสื่อมปวดมากขึ้น
ชนิดของ Myoma Uteri
1. Subserous myoma
ตำแหน่งเนื้องอกอยู่ใต้ Serosa ของมดลูก >> ถ้าก้อนโตเข้าไปใน Borad ligament เรียกว่า Intraligamentous Myoma >> บางก้อนยื่นออกมาเป็นติ่ง เรียกว่า Pedunculated myoma
2. Intramural myoma
ตำแหน่งเนื้องอกแทรกอยู่ในชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
พบบ่อยที่สุด
3. Submucous leiomyoma
ตำแหน่งเนื้องอกยื่นเข้าไปในโพรงมดลูก แต่อยู่ใต้เยื่อบุมดลูก >> มดลูกบิดเบี้ยว >> บางก้อนยื่นออกไปยังปากมดลูก เรียกว่า Prolapsed submocous myoma
-
-
สาเหตุการเกิดโรค
กล้ามเนื้อมดลูกโตมากขึ้นจาก >> การกลายพันธุ์ของ Gene >> วัยยังไม่เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ & วัยหมดประจำเดือน จะไม่ค่อยพบ >> ก้อนเติบโตและคงอยู่ได้ ขึ้นกับ >> Estrogen H. เป็นสำคัญ
ภาวะที่มี EstrogEn H. สูง >> ภาวะอ้วน มีประจำเดือนครั้งแรกอายุน้อย มีรอบประจำเดือนสั้นผิดปกติ ไม่มีลูก >> เสี่ยงมากขึ้น
Remodeling ของมดลูกบ่อย >> คลอดลูกเยอะ >> เสี่ยงน้อย
Hormone ที่มีผลกระตุ้นก้อนเนื้อ
Progesterone
Insulin-like growth factor
Transforming growth factor B
Epidermal growth factor
อาการและอาการแสดง
- ประจำเดือนมามากผิดปกติ >> เลือดจาง ซีด
-
-
-
-
- อาการจากก้อนเนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูกเบียดอวัยวะข้างเคียง
- 3 more items...
การวินิจฉัยแยกโรค
เพื่อให้ทราบตำแหน่งของก้อนเนื้องอก อยู่ชิดโพรงมดลูกมากน้อยเพียงใด หรือยื่นเข้าโพรงมดลูก เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการผ่าตัดเลาะเนื้อออก (Myomectomy) โดยที่ยังเก็บมดลูกไว้
- Saline infusion sonohysterography (SIS)
การ U/S พร้อมกับการฉีดน้ำเกลือเข้าโพรงมดลูก
-
การรักษา
การผ่าตัด
- 6 more items...
การรักษาด้วยยา
- 7 more items...
- จากประวัติและอาการของผู้ป่วยเรื่องเลือดออกผิดปกติจากช่องคลอด
- การตรวจร่างกายและการตรวจภายใน
-
คำแนะนำก่อนการกลับบ้าน
แนะนำโภชนาการด้านอาหาร
ปัญหาน้ำหนัก
- ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เน้น โปรตีนเนื้อ นม ไข่ เพื่อเสริมสร้างการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
- รับประทานอาหารให้ถูกสัดส่วน ลดหวาน ลดคาร์โบไฮเดรต
- รับประทานผลไม้แทนของหวาน
- รับประทานผักผลไม้เพื่อช่วยในเรื่องการขับถ่าย
อาการที่ต้องมาโรงพยาบาล
เจ็บครรภ์เตือน อาจเกิดได้ในช่วงใกล์ครบกำหนดหรือครบก่หนตโดยที่ไม่ใช่อาการที่จะ คลอด มีอาการคือ มดลูกหดรัดตัวไม่รุนแรงและไม่สม่ำเสมอ มีระยะห่างมากมีอาการเจ็บครรภ์ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก ไม่มีการเปิดของปากมดลูกไม่มีมูกเลือด เจ็บครรภ์นานๆ ครั้ง 15 นาที/ครั้ง พักแล้วหายและไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของทารก
เจ็บครรภ์จริง คือ อาการที่แสดงถึงทารกใกล้คลอด มีอาการเจ็บครรภ์ทุกๆ 10-15 นาทีเป็น จังหวะและสม่ำเสมอมีความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก ปวดบริเวณหลังร้าวไปที่หน้าท้อง ส่วนบนแล้วร้าวลงขา อาการเจ็บครรภ์ไม่หายไป แม้ใช้ทคนิคการผ่อนคลาย บรรเทาความปวด มีมูกเลือด หรืออาการ เลือดออกทางช่องคลอดมีอาการเปิดของปากมดลูกและมีการเคลื่อนต่ำของทารกหากมีอาการเจ็บ ครรภ์จริงให้รีบมาโรงพยาบาล