Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขของชาติ - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขของชาติ
**ระบบบริการสาธารณสุขและหลักประกัน
สุขภาพของไทยและต่างประเทศ
ระบบบริการสาธารณสุขไทย
:red_flag:
เป้าหมายที่ต้องบรรลุ
มีเป้าหมายที่ต้องการบรรลุอยู่ 4 ประการคือ
เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆในการได้รับบริการและการมีสุขภาวะที่ดี
เพื่อทำให้มั่นใจว่าการบริการสุขภาพนั้นได้ตอบสนองความต้องการของประชาชนในระดับที่น่าพอใจ
เพื่อให้มั่นใจว่ามีระบบป้องกันความเสี่ยงด้านสังคมและการเงินจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการในด้านการจัดสรรทรัพยากรและเทคโนโลยี
ปัญหาสุขภาพและการสาธารณของไทย
:red_flag:
บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขและเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ก้าวหน้ามักกระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ในขณะที่เมืองขนาดเล็กและชนบทยังมีความขาดแคลน
ความผิดพลาดของการบริการมีผลต่อชีวิตของผู้ป่วยพบว่ามีภาวะที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นถึงร้อยละ 35 จากจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลและประมาณครึ่งของการตายที่เกิดจากภาวะไม่พึงประสงค์นี้สามารถป้องกันได้เพราะส่วนใหญ่เสียชีวิตเพราะการติดเชื้อในโรงพยาบาลดังนั้นจึงควรเน้นด้านมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อที่มีประสิทธิภาพให้มากยิ่งขึ้น
3.สปสช. ตั้งราคาการเบิกจ่ายค่ารักษาผู้ป่วยให้กับกระทรวงสาธารณสุขเป็นราคาที่ต่ำกว่าต้นทุนค่ารักษาผู้ป่วยจริงผลคือโรงพยาบาลรัฐขาดทุนและโรงพยาบาลเอกชนถอนตัวจากโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การจ่ายเงินเดือนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขขึ้นตรงต่อสปสช. ทำให้ไม่สามารถจัดสรรบุคลากรให้เพียงพอกับต้องการได้เนื่องจากมีภาวะขาดทุนอยู่ก่อนแล้ว
การรักษาผู้ป่วยที่มีความซับซ้อนด้วยวิทยาการสมัยใหม่หากนอกเหนือจากที่สปสช. กำหนดทางรพ. จะไม่สามารถเบิกเงินจากกองทุนสปสช. ได้
6.เมื่อมีผู้เสียหายจากการให้บริการสาธารณสุขจะสามารถร้องเรียนและช่วยเหลือเบื้องต้นจากสปสช. อย่างมากถึง 400,000 บาทซึ่งเหตุการณ์เช่นนี้มีผลให้บุคลากรทางการแพทย์เกิดความเครียดและลาออก (สมองไหล) ไปภาคเอกชนมากขึ้นหรือเปลี่ยนทางเดินชีวิตไปเป็นหมอเสริมสวยหรือเปลี่ยนอาชีพ
หลักประกันสุขภาพ :red_flag:
สิทธิรักษาพยาบาล 3 ระบบของคนไทย
สิทธิสวัสดิการการร ักษาพยาบาลของข้าราชการ
สิทธิประกันสังคม
สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท
บริการสาธารณสุขที่คุ้มครอง
1.การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเช่นบริการวางแผนครอบครัว
การคลอดบุตรรวมกันไม่เกิน 2 ครั้ง
บริการทันตกรรม
การตรวจการวินิจฉัยการรักษาตั้งแต่โรคทั่วไปเช่นไข้หวัดจนถึงการรักษาโรคเรื้อรังโรคเฉพาะหางที่มีค่าใช้จ่ายการฟื้นฟูสมรรถภาพตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
ค่ายาแลยวชภัณฑ์ตามกรอบบัญชียาหลักแห่งชาติและยาที่มีค่าใช้จ่ายสูงตามประกาศของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ค่าอาหารและค่าห้องสามัญระหว่างพักรักษาตัว ณ หน่วยบริการ
การจัดการส่งต่อเพื่อการรักษาระหว่างหน่วยบริการ
บริการแพทย์แผนไทย ได้แก่ ยาสมุนไพรหรือยาแผนไทยการนวดเพื่อการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพการอบหรือประสบสมุนไพรเพื่อการรักษาตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการสามารถขอรับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพได้ตามประเภทความพิการได้ตามเกณฑ์ช. กำหนด
บริการสาธารณสุขที่ไม่คุ้มครอง
การรักษาภาวะมีบุตรยากการผสมเทียม
การเปลี่ยนเพศการกระทำใด ๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
การตรวจวินิจฉัยและรักษาใด ๆ ที่เกินความจำเป็นจากข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
การรักษาที่อยู่ระหว่างการค้นคว้าทดลอง
การบาดเจ็บจากการประสบภัยจากรถซึ่งอยู่ในความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเฉพาะส่วนที่ บริษัท หรือกองทุนตามกฎหมายนั้นต้องเป็นผู้จ่าย
การปาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติดตามกฎหมายว่าด้วยสารเสพติด
โรคที่ต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทผู้ป่วยในเกินกว่า 180 วันยกเว้นกรณีมีความจำเป็นต้องรักษาต่อเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนหรือข้อปงขึ้หางการแพทย์
การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ (Organ Transplantation) ยกเว้น•การปลูกถ่ายไตเพื่อรักษาโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย•การปลูกถ่ายตับในเด็ก (อายุไม่เกิน 18 ปี) ที่เป็นโรคท่อน้ำดีตีบตัน แต่กำเนิด•การปลูกถ่ายหัวใจ
โครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุขไทย
รัฐบาล
โรงพยาบาลส่วนกลาง
:star:
โรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนกลางจะขึ้นตรงต่อกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลเลิดสิน กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลสงฆ์ กรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลส่วนภูมิภาค
โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.)
เป็นโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็นโรงพยาบาลประจ าจังหวัดประจ าภูมิภาคที่มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) มีจ านวนเตียงมากกว่า 500 เตียง ในประเทศไทยมีอยู่ 26 แห่ง เรียงตามจ านวนเตียงในแต่ละภาค
โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.)
เป็นโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็นโรงพยาบาลประจ าจังหวัดทั่วไปหรือโรงพยาบาลประจ าอ าเภอขนาดใหญ่ที่มีขีดความสามารถระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) มีจ านวนเตียง 120 - 500 เตียง ในประเทศไทยมีอยู่ 69 แห่ง เรียงตามจ านวนเตียงในแต่ละภาค
โรงพยาบาลชุมชน (รพช.)
เป็นโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็นโรงพยาบาลประจ าอ าเภอทั่วไป มีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) หรือระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) ในบางแห่ง มีจ านวนเตียง 10 - 120 เตียง ในประเทศไทยมีอยู่ 723 แห่ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เดิมนั้นคือสถานีอนามัย หรือศูนย์สุขภาพชุมชน เป็นสถานพยาบาล ประจำตำบลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีขีด ความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) โดยเกือบทั้งหมดจะไม่รับผู้ป่วยใน และไม่มีแพทย์ท างานอยู่เป็นประจำ แต่จะอาศัยความร่วมมือกับแพทย์ใน โรงพยาบาลชุมชน ในปี พ.ศ. 2552 รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชา ชีวะ มีนโยบายที่จะพัฒนาสถานีอนามัย หรือศูนย์สุขภาพชุมชนให้มีศักยภาพ มากขึ้น จึงจัดสรรงบประมาณในโครงการไทยเข้มแข็ง พ.ศ. 2555 เพื่อยกระดับ สถานีอนามัย หรือศูนย์สุขภาพชุมชนให้เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลเฉพาะทาง
โรงพยาบาลมนารมย์ เฉพาะทางด้านจิตเวช เป็นกลุ่มโรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน โรงพยาบาลจักษุแห่งแรกในประเทศไทย ศูนย์เลสิคและรักษาสายตารัตนิน-กิมเบล ในเครือโรงพยาบาลจักษุ รัตนิน
ศูนย์หัวใจ ศูนย์มะเร็ง
กระทรวงศึกษาธิการ
โรงพยาบาลประเภทนี้เป็นโรงพยาบาลในมหาวิทยาลัยและโรงเรียน แพทย์ของคณะแพทยศาสตร์หรือวิทยาลัยแพทยศาสตร์ต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นศูนย์บริการทางการแพทย์ระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super Tertiary Care) ที่มีขีดความสามารถในการให้บริการและมีความพร้อมใน การรักษาสูงสุด เนื่องจากเป็นโรงพยาบาลที่ใช้ส าหรับการเรียนการสอนเพื่อผลิต บุคลากรทางด้านการแพทย์ และเป็นโรงพยาบาลส าหรับการค้นคว้าวิจัยต่างๆ ใน ประเทศไทยมีอยู่ 12 แห่ง เรียงตามจำนวนเตียง
เอกชน
โรงบาลเอกชน เป็นโรงพยาบาลที่จัดตั้งโดยเอกชน มีทั้งที่เป็นบริษัทจำกัด และบริษัทมหาชนจำกัดด้วย โรงพยาบาลเอกชนบางแห่งเป็น โรงพยาบาลเฉพาะด้าน เช่น โรงพยาบาลทางด้านโรคตา โรงพยาบาลทันตกรรม เป็นต้น บางแห่งก็มีมากกว่าหนึ่งแห่งใน กลุ่มบริษัทเดียวกัน ตัวอย่างของโรงพยาบาลเอกชน
นายยงยศ จันปัญญา เลขที่ 15 ห้อง B