Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปและประมวลความรู้ที่ ได้จากการศึกษาสิทธิมนุษยชน - Coggle Diagram
สรุปและประมวลความรู้ที่
ได้จากการศึกษาสิทธิมนุษยชน
Age of Human Rights ว่าด้วย Game Changer
คือ วัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อที่มีผลต่อจิตสำนึกของคนในยุคนั้น รูปการณ์ทางสังคม ที่เป็นตัวกำหนดจิตสำนึกของคนในยุคนั้น
ในสังคมบรรพกาล ต้องการสิทธิตามธรรมชาติ เพราะไม่อยากตาย ถ้าถามว่ามนุษย์ต้องการอะไร เป้าหมายแรก คือสิทธิเพื่อความอยู่รอด
ก่อนทันสมัย ยุคบรรพกาล สิทธิที่มนุษย์เรียกร้อง ผ่านสิทธิตามธรรมชาติ มนุษย์มีสิทธิตามธรรมชาติอย่างไร สิทธิตามธรรมชาติถูกอธิบายผ่านความคิด ความเชื่อทางศาสนาเป็นหลัก หรือ พระเจ้า เป็นคนกำหนดว่าสิทธิของมนุษย์คืออะไร
ยุคทันสมัย สิทธิมนุษยชนตามธรรมชาติที่เป็นนามธรรม ถูกนำมาเป็นกติกากลางให้เป็นรูปธรรม เกิดมาตรฐานกลางที่เป็นสากลอธิบายว่ามนุษย์ต้องการอะไร ใช้ฐานความคิดที่สนับสนุนว่ามนุษย์มีสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างไร ผ่านนักปราชญ์ นักคิด
องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นที่เป็นฐานสำคัญในการการบัญญัติปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เกิดจากข้อถกถียงของนักปราชญ์ทางการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยใน 4 เรื่อง
ต้องการอะไร
มนุษย์คืออะไร
สิทธิ
เป้าหมายของความสำเร็จคืออะไร
Game Changer รูปการณ์ทางสังคมที่กำหนดจิตสำนึก
มิติทางการเมืองการปกครอง ทฤษฎีทางประชาธิปไตย การเมืองการปกครอง 3 เสาหลัก
หลักนิติธรรม
สิทธิมนุษยชน
หลักประชาธิปไตย
มิติทางปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีอิทธิพลมากในการทำให้พูดถึงสิทธิที่มีภายหลัง สิทธิความสะดวกสบาย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
มิติทางมานุษวิทยาและสังคมวิทยา โดยเฉพาะความเป็นพลเมืองการสร้างความเป็นพลเมืองโดยให้สิทธิต่าง ๆ
นักคิดเขียนเสรีภาพขั้นพื้นฐานไว้ในคำปรารภของปฏิญญาสิทธิมนุษยชน
เสรีภาพทางความเชื่อ
เสรีภาพของการปราศจากความกลัว ไม่หวาดกลัว
เสรีภาพในการแสดงออก การแสดงตัวตนของเขา
เสรีภาพที่มนุษย์มีความปรารถนา
การตกผลึกทางความคิดที่นำไปสู่สิทธิมนุษยชน
มนุษย์มีสิทธิในชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน
มีอิสระและความเท่าเทียมกัน
มนุษย์ติดต่อตัวมาแต่กำเนิด
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากล
สัญญาประชาคมที่รัฐภาคีของสหประชาชาติให้ไว้ร่วมกัน
พลังเจตจำนงร่วมกันของประเทศในโลกนี้
หลักการสำคัญ
ต้องทำให้มีคุณค่ามากกว่ากฎหมาย เพราะจริยธรรม มีคุณค่าอยู่สูงกว่ากฎหมาย สิทธิมนุษยชน จึงถือว่าเป็นจริยธรรมสากล การรักษาจริยธรรมสากล คือ การเคารพสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน เป็นทั้งจารีตประเพณีระหว่างประเทศ /ศีลธรรมของโลก หรือ มาตรฐานของพลเมืองโลก สิ่งสำคัญคือ การนำหลักการสิทธิมนุษยชน มาอนุวัติกฎหมายภายในประเทศ
ผลงานชิ้นสำคัญของสหประชาชาติ
การพัฒนาประเทศ โดยมีตัวชี้วัดจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากล สามารถแบ่งเป็น 3 ส่วน
เนื้อหา
ข้อ 22-27 สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ข้อ 28 – 30 การนำไปใช้
ข้อ 1-21 สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
การนำไปใช้
คำปรารภ บททั่วไป
กรอบการคิด
ช่วงที่ 2 การเรียนรู้ปฏิญญาสากล เรียนรู้สิทธิในฐานะของหน้าที่และความรับผิดชอบ
ช่วงที่ 3 การเรียนรู้สิทธิมนุษยชนว่ามนุษย์ไม่ได้อยู่ลำพัง มนุษย์ไม่ได้เป็นศูนย์กลางของระบบนิเวศวิทยา กำหนดบทบาทหน้าที่ของมนุษย์ในการปกป้องสิทธิมนุษยชนในระบบนิเวศวิทยา มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศวิทยา
ช่วงที่ 1 ค.ศ. 1948 วันเริ่มต้นของการประกาศใช้ปฏิญญาสากล อ่านสิทธิมนุษยชนในฐานะเป็นเครื่องยืนยันสิทธิของปัจเจกชน สิทธิของตน ปัจเจกชน มนุษย์คนหนึ่ง พลเมืองคนหนึ่ง มีสิทธิอะไร
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
หน้าที่อะไร
ความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างไร
สิทธิ/ปัจเจกชน
ความหมายของสิทธิมนุษยชน และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
สิทธิมนุษยชน
หมายถึง บรรดาสิทธิขั้นพื้นฐาน ที่ปรากฏในปฏิญญาสากล การอนุวัติกฎหมายอยู่กับความพร้อมของรัฐแต่ละประเทศ ซึ่งมีหน้าที่ในการเคารพตามมาตรฐานสากล เชื่อว่ารัฐที่เป็นภาคีสมาชิกเป็นรัฐที่ดี มีเจตจำนงที่ดี
ความหมายสิทธิมนุษยชน
สิทธิตามธรรมชาติ และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน หากอธิบายตามหลักการทางทฤษฎี เป็นสิทธิที่ไม่มีที่สิ้นสุด พัฒนาการแปลเปลี่ยนไปตามสภาพการณ์ของมนุษย์
ความหมายของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
บรรดาสิทธิต่างๆ ที่เป็นหลักประกันว่ามนุษย์จะมีชีวิตที่เหมาะสมต่อการดำรงสถานภาพความเป็นมนุษย์ สิทธิที่แสดงความเป็นมนุษย์ จึงแปลเปลี่ยนไปตาม ณ ปัจจุบัน
ให้มองสภาพการณ์ สังคมที่เป็นอยู่ ณ ขณะนั้น มันเปลี่ยนแปลงไปก็ต้องกำหนดสิทธิให้เพิ่มขึ้นกว่าเดิม รัฐมีหน้าที่ส่งเสริมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ที่เหมาะสมต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์