Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน, ภัสสร ตรีศร :<3: - Coggle…
บทที่ 4
การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ทศวรรษสหประชาชาติ
ว่าด้วยการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
วิสัยทัศน์
การที่ทำให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
ที่มีคุณภาพ และเรียนรู้ค่านิยม
วิถีปฏิบัติและแนวการดำรงชีวิตที่จำเป็น
ต่ออนาคตยั่งยืน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดี
เป้าหมายหลัก
เพื่อเปิดโอกาสให้ประเทศต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการปฏิรูป
หรือจัดระบบการศึกษา
เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการเรียนการสอน
เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของประเทศต่าง ๆ
ให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
เพื่อสร้างเครือข่ายการศึกษาและการเรียนรู้
การศึกษา
กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การตัดสินใจของชุมชน
คุณภาพชีวิตของประชาชน
การพัฒนาของประเทศ
กลยุทธ์การจัดการศึกษา
เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพของกระบวนการ
(Process)
กระบวนการเรียนการสอน
การบริหารจัดการศึกษา
คุณภาพของผลผลิต
(Outputs)
คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา
ตามหลักสูตร
แนวคิดการจัดการศึกษา
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คุณภาพของปัจจัยนำเข้า
(Inputs)
ครู และบุคลากรทางการศึกษา
หลักสูตร
การบูรณาการความรู้ ทักษะ
ในด้านคุณธรรมจริยธรรมเข้า
การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สู่ความยั่งยืน
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ในบริบทไทย
School-based Management
การจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา
การจัดตั้งคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
การจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ
การพัฒนาครูและบุคลากรด้านการศึกษา
เน้นให้ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
การจัดทำระบบการตรวจสอบและประเมินตนเอง
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดการเรียนการสอน
การจัดทำและพัฒนาหลักสูตร
แผนการเรียนการสอนที่หลากหลาย
สาระสำคัญของการศึกษา
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นัยยะสำคัญในการที่จะส่งเสริมแนวคิด
ของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ทักษะ (Skills)
มุมมอง (Perspectives)
ความรู้ (Knowledge)
ค่านิยม (Values)
ปฏิญญาโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Earth Charter)
ความสมบูรณ์มั่งคั่ง
ของระบบนิเวศ
ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ
และสังคม
การให้ความเคารพ
และใส่ใจต่อประชาคมแห่งชีวิต
ประชาธิปไตย อหิงสา
และสันติภาพ
อุปสรรค และความท้าทายของการศึกษา
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การมีส่วนร่วมของชุมชน
การบูรณาการเนื้อหาสาระการเรียนรู้
นิยามเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทบาทของหน่วยงานที่รับผิดขอบ
การปฏิรูปการศึกษา
การพัฒนาศักยภาพของกลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การบูรณาการหลักสูตร
การจัดระบบงบประมาณและปัจจัยสนับสนุน
การเสริมสร้างความตระหนัก
การกำหนดนโยบายส่งเสริมการศึกษา
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ยุทธ์ศาสตร์ที่ 4
การจัดระบบการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 2
การพัฒนาคุณภาพครู คณาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 5
การสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษา
เพื่อพัฒนาคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ยุทธศาสตร์ที่ 6
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม
ภัสสร ตรีศร :<3:
เลขที่ 11
63121684131
ห้อง 5
รุ่นที่ 7