Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินระบบเฝ้าระวัง หน่วยที่ 4 - Coggle Diagram
การประเมินระบบเฝ้าระวัง
หน่วยที่ 4
เหตุผลที่ต้องมีการประเมินระบบเฝ้าระวัง
ทำไมจึงต้องประเมินระบบเฝ้าระวัง เพื่อศึกษาระบบเฝ้าระวังในแง่ต่างๆ
ความส าคัญของปัญหา
ประสิทธิภาพ
การประเมินผลโครงการ
ปัจจัยนำเข้า
• บุคลากร
• งบประมาณ
• วัสดุ อุปกรณ์
• การบริหารจัดการ
กระบวนการรายละเอียดของ
ขั้นตอนการทำงาน
ผลลัพธ
Output
Outcome
Impact
ความคุ้มทุน
คำถามที่ต้องตอบเมื่อประเมินระบบเฝ้าระวัง
คำถามที่ต้องตอบ
เรื่องที่จะทำการประเมิน
แง่มุมที่จะประเมิน
เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินว่าผ่านมาตรฐาน
ใช้ข้อมูลหรือหลักฐานอะไรในการบอกว่าระบบท างานได้ดีหรือไม่
ข้อสรุปที่ได้จากการประเมินคืออะไร
มีคำแนะนำอย่างไรในการปรับปรุงระบบเฝ้าระวัง
ขั้นตอนการประเมินระบบเฝ้าระวัง
1.การรับฟังความเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง
ผู้ประเมินควรพิจารณาขอความเห็นจากกลุ่มผู้เกี่ยวข้องที่สeคัญ
3 กลุ่ม
กลุ่มผู้ทำหน้าที่เฝ้าระวัง
กลุ่มผู้ใช้ข้อมูลเฝ้าระวัง
กลุ่มผู้ที่จะนำผลการประเมินไปใช
ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นผู้เกี่ยวข้อง
1.1 ผู้ประเมินได้รับทราบความเห็นของผู้เกี่ยวข้องที่มีต่อระบบเฝ้าระวังและการประเมิน
1.2 ผู้ประเมินได้ทราบประเด็นของการประเมินที่ผู้เกี่ยวข้องคิดว่าเป็น
ประเด็นที่มีความสำคัญ
1.3 ผู้เกี่ยวข้องจะได้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินตั้งแต่แรก
1.4 ผู้ประเมินและผู้เกี่ยวข้องสามารถตกลงถึงบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายในการประเมินระบบเฝ้าระวัง
3.การออกแบบระบบเฝ้าระวัง
3.1 การกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน
ผลลัพธ์จากการประเมินระบบเฝ้าระวังสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประการ
ความรู้ที่ทำให้เข้าใจระบบเฝ้าระวังได้ดีขึ้น
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง
ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบ (effects) ที่เกิดจากระบบเฝ้าระวัง
ข้อพิจารณาสำหรับการจัดตั้งระบบเฝ้าระวัง
(หรือยกเลิกระบบเฝ้าระวังที่มีอยู่)
3.2 ประเด็นในการประเมินและตัวชี้วัด
ประเด็นในการประเมินสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม
การประเมินเพื่อพิจารณาว่าปัญหาสาธารณสุขที่กำลังทำการ
ประเมินเป็นปัญหาที่ควรทำการเฝ้าระวังหรือไม่
ตัวชี้วัด
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรงของปัญหา
ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ
ความสามารถในการป้องกันโรค
ความสนใจของประชาชน
การประเมินเพื่อศึกษาคุณลักษณะของระบบเฝ้าระวัง
คุณลักษณะต่างๆ
I. การประเมินแนวทางในการดำเนินงานเฝ้าระวัง
ควรมีการทบทวนองค์ประกอบของระบบ
เฝ้าระวังอย่างน้อย 5 ประการ
วัตถุประสงค์ของระบบเฝ้าระวัง
บุคคลและองค์กรที่เกี่ยวข้องในระบบเฝ้าระวัง
นิยามของปัญหาสาธารณสุขที่ทำการเฝ้าระวัง
ขั้นตอนต่างๆ ในการเฝ้าระวัง
กระบวนการควบคุมคุณภาพ
II. การประเมินต้นทุนของระบบเฝ้าระวัง
หลักการเบื้องต้นของการวิเคราะห์ต้นทุน
การวิเคราะห์ต้นทุนนี้ใช้กิจกรรมเป็นหลัก
ใช้หลักการพื้นฐานทั่วไปของการวิเคราะห์ต้นทุน
เมื่อรวมต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ และต้นทุนค่าเสื่อมราคาจะได้ต้นทุน
รวม (total cost) รายกิจกรรม
ทำการกระจายต้นทุนรวมของกิจกรรมที่ทำหน้าที่สนับสนุนการทำงานของกิจกรรมอื่นๆ
หลังการกระจายต้นทุนทางอ้อมจากกิจกรรมที่สนับสนุนแล้วจะได้
ต้นทุนทั้งหมด
เอาต้นทุนทั้งหมดมาหารด้วยปริมาณของกิจกรรมที่นับหรือวัดได้
ในรอบปีหรือรอบงวดที่ทำการวิเคราะห์ จะได้ต้นทุนต่อหน่วย
การกำหนดกรอบเวลาการวิเคราะห์ต้นทุนควรจะต้องกำหนดปีฐาน
ในการคำนวณต้นทุนให้ชัดเจนทั้งนี้เพื่อป้องกันความแปรผันของปริมาณบริการและความแปรผันของต้นทุน
III. การประเมินประโยชน์ของระบบเฝ้าระวัง
จะมีประโยชน์ ถ้าระบบเฝ้าระวังมีส่วนช่วยในกระบวนการป้องกันและควบคุมโรคหรือถ้าระบบเฝ้าระวังสามารถให้ข้อมูลได้ว่าเป็น
ปัญหาที่สำคัญควรได้รับความสนใจ
IV. การประเมินระบบเฝ้าระวังเชิงปริมาณ
คุณลักษณะที่ใช้
ความไว (sensitivity)
• การรายงานโรค : สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยที่ถูกรายงาน ต่อจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด (ในชุมชน)
• การตรวจจับการระบาด : สัดส่วนของการระบาดที่สามารถ
ตรวจจับได้โดยระบบเฝ้าระวัง ต่อ การระบาดทั้งหมด (ในชุมชน)
ความสามารถในการทำนายค่า (predictive)
• การรายงานโรค : สัดส่วนของจ านวนผู้ป่วยที่ถูกรายงาน ต่อ
จำนวนผู้ป่วยจริงตามนิยามเฝ้าระวังทั้งหมด
• การตรวจจับการระบาด : สัดส่วนของการระบาดที่สามารถ
ตรวจจับได้โดยระบบเฝ้าระวัง ต่อ การระบาดจริงทั้งหมด
ความถูกต้อง (Accuracy)
มักจะประเมินในตัวแปรหลักๆ เช่น อายุ เพศ วันเริ่มป่วย
ความทันเวลา (timeliness)
ประเมินในแง่ความทันเวลาในการรายงานข้อมูล
เพื่อใช้ในการควบคุมโรค (information for action)
ความเป็นตัวแทน (representativeness)
มักจะดูในแง่ของบุคคล เวลา สถานท
V. การประเมินระบบเฝ้าระวังเชิงคุณภาพ
ความยอมรับได้ (acceptability)
พิจารณาได้จากความยินยอมพร้อมใจและความเต็มใจของบุคคและองค์กรต่างๆ ในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานเฝ้าระวัง
ความเรียบง่าย (simplicity)
ระบบเฝ้าระวังที่ดีควรมีความง่ายในการดำเนินการ
แต่ก็ต้องสามารถตอบวัตถุประสงค์ของระบบฯ
ความยืดหยุ่น (flexibility)
สามารปรับให้มีการเพิ่มเติมข้อมูลที่ต้องการได้โดยไม่ต้องใช้เวลา บุคลากร และงบประมาณเพิ่มขึ้นมากนัก
ความมั่นคง (stability)
ความสามารถในการดำเนินงานของระบบโดย
ไม่มีการสะดุด ล่ม ในสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
การประเมินเพื่อศึกษาผลกระทบของระบบเฝ้าระวัง
ความมุ่งหวังสูงสุดของระบบเฝ้าระวังก็คือการ
สร้างองค์ความรู้ที่จะทำให้เรากระบวนการป้องกันและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
3.3 วิธีการประเมิน
การทบทวนเอกสาร (documentary research)
การสำรวจ
การศึกษาระบาดวิทยา (analytic study)
การศึกษาระบาดวิทยาเชิงทดลอง (intervention study)
การศึกษาโดยการคาดประมาณ
3.4 การออกแบบเครื่องมือเก็บข้อมูล
เครื่องมือเก็บข้อมูล
แบบสัมภาษณ์
แบบสอบถาม
แบบสังเกต
การคัดลอกข้อมูลผู้ป่วย
4.การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์
การประสานงานก่อนการเก็บข้อมูล
การอบรมเจ้าหน้าที่เก็บข้อมูล
การควบคุมคุณภาพของการจัดเก็บข้อมูล
5 การให้ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ
คุณลักษณะต่าง ๆ ของระบบเฝ้าระวัง มีความสัมพันธ์
กันอย่างใกล้ชิดการเสนอให้ปรับแก้ข้อด้อยอย่างใดอย่างหนึ่ง
ของระบบ อาจมีผลกระทบต่อคุณลักษณะอื่น ๆ
2.การศึกษารายละเอียดของระบบเฝ้าระวัง
ขั้นตอนนี้จะช่วยให้ผู้ประเมินเข้าใจระบบเฝ้าระวังที่จะทำการประเมินมากยิ่งขึ้น
องค์ประกอบของระบบเฝ้าระวังที่สำคัญที่ผู้ประเมินควรทำการศึกษา
ความจำเป็นของการมีระบบเฝ้าระวัง
วัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าจะได้รับของระบบเฝ้าระวัง
นิยามปัญหาที่ทำการเฝ้าระวัง
กลุ่มประชากรที่ทำการเฝ้าระวัง
วิธีการที่ใช้ในการเฝ้าระวัง
กิจกรรมของระบบเฝ้าระวัง
ทรัพยากรที่ใช
สถานภาพของการดำเนินการเฝ้าระวัง
การเผยแพร่ผลการประเมิน
6.1 ข้อความรู้ที่ได้จากการประเมินและตัวผู้รับสื่อ
ผู้ประเมินควรเลือกนำเสนอเฉพาะผลการประเมินในประเด็นที่
ผู้รับฟังผลการประเมินสนใจ
6.2 วิธีการ
ผู้ประเมินจึงควรให้เวลาและความส าคัญกับการเผยแพร่
ผลการประเมินให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้