Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของศูนย์รับบริจาคอวัยวะ หลังการบริจาคอวัยวะที่เสียชีวิต - Coggle…
บทบาทของศูนย์รับบริจาคอวัยวะ หลังการบริจาคอวัยวะที่เสียชีวิต
ขอพระราชทานเพลิงเผาศพหรือดินฝังศพ ถ้าญาติร้องขอ
การขอรับพระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ
เอกสารที่ต้องเตรียม
สาเนาใบมรณบัตรผู้ถึงแก่กรรม
• 2. สาเนาบัตรประจาตัวข้าราชการหรือบัตรประชาชนของผู้ถึงแก่กรรม และทายาท(คนเดียวกับที่ลงนามรับรองสาเนาของ ผู้บริจาคอวัยวะ
• 3. สาเนาทะเบียนบ้าน ของผู้ถึงแก่กรรมและของทายาท
• 4.สาเนาทะเบียนสมรส กรณีเป็นคู่สมรส
• 5. สาเนาใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล กรณีเปลี่ยนชื่อ-สกุล
• 6. บันทึกประจาวันของตารวจ กรณีตรวจนิติเวช
• 7. ประวัติโดยย่อ
• **ทายาทเซ็นรับรองสาเนาถูกต้องแทนผู้ถึงแก่กรรมในเอกสารทุกแผ่น
ข้อจำกัด
บุคคลที่ทาร้ายชีพตนเองและผู้ต้องอาญาแผ่นดิน ไม่พระราชทานเพลิง และเครื่องเกียรติยศประกอบศพ
• 2. ตามประเพณีนิยม จะไม่พระราชทานเพลิงศพในวันศุกร์
• 3. การพระราชทานเพลิงศพจะต้องไม่ตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว,วันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี, วันฉัตรมงคล
• 4.กรณีสถานที่ฌาปนกิจอยู่นอกเขตกรุงเทพและปริมณฑลญาติสามารถนาสาเนาเอกสารจากสภากาชาดไทย เพื่อรับหีบเพลิงที่วัฒนธรรมจังหวัดนั้นๆ ได้เลย
การดูแลโรงพยาบาลที่มีผู้บริจาคอวัยวะ
ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยเตรียมการบริจาคอวัยวะ
ห้องผ่าตัด
แพทย์วิสัญญี
พยาบาลวิสัญญี
พยาบาลห้องผ่าตัด
ไอซียู / หอผู้ป่วย
แพทย์ดูแลผู้บริจาคอวัยวะ
แพทย์ผู้วินิจฉัยสมองตาย
พยาบาลดูแลผู้บริจาคอวัยวะ
ผู้ประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ
ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จ าเป็ นแต่โรงพยาบาลไม่สามารถตรวจได้ ต้องส่งตรวจนอกโรงพยาบาล
ค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดนาอวัยวะออก
การเชิดชูเกียรติ การสนับสนุนและอานวยความสะดวกแก่ญาติผู้บริจาค
มอบสิทธิผู้มีอุปการคุณสภากาชาดไทย ระดับทอง (ข้อ 4.4)
แก่ทายาท 1คน
มอบหรีดเคารพศพ
จัดหาโลงศพและรถส่งศพไปยังสถานที่บาเพ็ญกุศล
มอบเกียรติบัตรสภากาชาดไทยเชิดชูความดีผู้บริจาคอวัยวะ
ขอพระราชทานเพลิงเผาศพหรือดินฝังศพ ถ้าญาติร้องขอ