Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทของการออกกำลังกาย, การออกกำลังกายแบบไม่ต้องใช้ออกซิเจน…
ประเภทของการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายแบบเกร็ง
กล้ามเนื้ออยู่กับที่
(Isometric Exercise)
การออกกําลังกายแบบไอโซเมตริก เป็นการออกกําลังกายโดยการเกร็งกล้ามเนื้อ ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เกร็งกล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มหนึ่งสักครู่ แล้วคลายกล้ามเนื้อออก และเกร็งใหม่ ทําสลับกัน
การดันกำแพง
การออกแรงบีบวัตถุ
ออกแรงดึงเก้าอี้ตัวที่เรานั่งอยู่ อาจเรียกได้ว่าเป็นการใช้แรงตัวเองต่อสู้กับตัวเองก็ได้
การออกกำลังกายแบบมีการยืดหด
ตัวของกล้ามเนื้อ (isotonic Exercise)
การออกกำลังกายแบบมีการ ยืด หดตัว ของกล้ามเนื้อ ชนิดที่ความยาวของกล้ามเนื้อมีการเปลี่ยนแปลงและอวัยวะมีการเคลื่อนไหวขณะออกกำลัง เป็นการบริหารกล้ามเนื้อตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยตรง
คอนเซนตริก ( Concentric ) คือ
การหดตัวของกล้ามเนื้อชนิดที่ความยาว
ของกล้ามเนื้อหดสั้นเข้าทำให้น้ำหนัก
เคลื่อนเข้าหาลำตัว
การยกน้ำหนักเข้าหาลำตัวท่าวิดพื้น ขณะที่ลำตัวลงสู่พื้น
เอคเซนตริก ( Excentric ) คือการหดตัว
ของกล้ามเนื้อชนิดที่มีการเกร็ง
กล้ามเนื้อและความยาวของกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น
การยกน้ำหนักออกห่างจากลำตัว
ท่าวิดพื้นในขณะยกลำตัวขึ้น
การออกกำลังกายแบบทำให้กล้าม
เนื้อมีการทำงานเป็นไปอย่างสม่ำเสมอ
(isokinetic Exercise)
การออกกำลังกายชนิดที่การทำงานของกล้ามเนื้อเป็นไปอย่างสม่ำเสมอตลอดช่วงเวลาของการเคลื่อนไหว
การขี่จักรยาน
การก้าวขึ้นลง
การออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจน
( Aerobic Exercise)
การออกกำลังกายชนิดที่ต้องใช้ออกซิเจน หรือมีการหายใจ เข้า – ออก ในขณะออกกำลังกาย เป็นการบริหารกายเพื่อความสูงสุดในการรับออกซิเจน การออกกำลังกายแบบนี้เป็นที่ยอมรับของนักวิทยาศาสตร์การกีฬา ตลอดจนวงการแพทย์ เพราะการออกกำลังกายแบบนี้ จะสามารถบ่งบอกถึงสมรรถภาพทางกายของบุคคลนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี โดยทำการทดสอบได้จากอัตราการเต้นของหัวใจ หรือความดันโลหิต
การว่ายน้ำ
การวิ่งจ๊อกกิ้งการเดิน
การออกกำลังกายแบบไม่ใช้ออกซิเจน
(anaerobic Exercise)
การออกกำลังกายแบบนี้ส่วนใหญ่จะปฏิบัติกันในหมู่นักกีฬาที่ทำการฝึกซ้อมหรือแข่งขันจึงไม่เหมาะกับบุคคลธรรมดาทั่วไป
การออกกำลังกายแบบไม่ต้องใช้ออกซิเจน หรือในขณะที่ออกกำลังกายแทบไม่ต้องหายใจเอาอากาศเข้าสู่ปอดเลย
การวิ่งระยะสั้น
การกระโดดสูง
ทุ่มน้ำหนัก