Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการด้านศาสนาในช่วงก่อนร.5 - Coggle Diagram
พัฒนาการด้านศาสนาในช่วงก่อนร.5
รัชกาลที่ 1
สร้างพระศรีรัตนศาสดาราม (พ.ศ. 2325) เพื่อประดิษฐานพระแก้วมรกตที่ได้มาจาก เวียงจันทร์
การ รวบ รวม พระ พุทธ รูป โบ ราณ ทรง รวบ รวม พระพุทธ รูป จำนวนพันกว่า องค์ (1,248 องค์)
ทรงสังคายนาพระไตรปิฎก ทรงโปรดให้พระเถระผู้ทรงคุณวุฒิทรงจำพระไตรปิฎก จำนวน 218 รูป และฆราวาสที่เป็นราชบัณฑิตอีก 32 คน ประชุมทำสังคายนาพระไตรปิฎก ณ วัดพระศรีสรรเพชญ์
ทรงออกกฏหมายคณะสงฆ์ เรียกในปัจจุบันว่า “พระราชบัญญัติคณะสงฆ์” (พ.ร.บ. คณะสงฆ์)
รัชกาลที่ 2
ส่งสมณทูตไปลังกา ได้เคยมีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาแต่ขาดตอน เพราะภัยจากสงคราม
ทรงฟื้นฟูประเพณีวิสาขบูชา ได้เคยทำมาแล้วสมัยสุโขทัย แต่ม่ขาดตอนสมัยอยุธยา เพราะภัยสงคราม ทรงทราบว่าประเทศลังกามีพิธีวิสาขบูาใหญ่โตมาก จึงโปรดให้มีขึ้น
สังคาย นา สวดมนต์ ซึ่งถือ เป็นเรื่อง สำ คัญ เทียบ กับการ ทำ แต่ง ตั้ง ครั้ง รัช กาล ที่ 1
การปริยัติศึกษา แต่เดิมมีเพียงการสอนกำหนดไว้ 3 ชั้น คือ
บาเรียนตรี เรียนพระสูตร
บาเรียนโท เรียนพระสูตร-พระวินัย
บาเรียนเอก เรียนพระสูตร-พระวินัย-พระอภิธรรม
ห้พระศาสนวงศ์ไปอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุกับต้นโพธิลังกาเข้ามาถวาย เมื่อ พ.ศ. 2357
รัชกาลที่ 3
ทรงก่อสร้างและบูรณะอารามต่างๆ
ทรงรังเกียจโปรดให้สมเด็จพ ระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ตรวจค้ นคัมภีร์เรื่องพุทธประวัติ เลือกพระอริยาบถต่างๆ แล้วสร้างรวมถึง 40 ปาง ประดิษฐานไว้ที่ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ทรงสร้างวัดจอมทอง คือวัดราชโอรส เป็นศีลปะแบบจีนที่สวยงามมาก โปรดให้ปั้นประดับกระเบื้องเคลือบ และเป็นที่นิยมต่อมาถึงปัจจุบัน สร้างเจดีย์สถาน โดยให้แปลงสถูปที่ร้างตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 ที่วัดอรุณราชวรารามเป็นปรางค์สูงเส้นเศษ
กำเนิดธรรมยุติกนิกาย พระราชโอรสองค์หนึ่งในรัชกาลที่ 2 คือเจ้าฟ้ามงกุฏ ออกผนวชเมื่อ พ.ศ. 2367 ได้รับพระฉายาว่า “วชิรญาโณ” เดิมจะทรงผนวชเพียง 1 เดือน ประทับที่วัดมหาธาตุ 3 วัน แล้วเสด็จประทับที่วัดสมอราย (คือวัดราชาธิวาส) ทรงปฏิบัติพระกรรมฐาน ทรงผนวชได้ 15 วัน พระราชบิดาก็สวรรคต
รัชกาลที่ 4
สร้างอารามหลวง 5 แห่ง
วัดบรมนิวาส สร้างครั้งยังทรงผนวช เพื่อเป็นที่ประทับพระอริยาบถ (เดิมชื่อวัดนอก)
วัดโสมนัสวิหาร พ.ศ. 2396อุทิศพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางโสมนัสวัฒนาวดี
วัดปทุมวนาราม พ.ศ. 2400 พระราชทานเป็นวัดแด่สมเด็จพระเทพสิรินทราบรมราชินีวัดปทุมวนาราม พ.ศ. 2400 พระราชทานเป็นวัดแด่สมเด็จพระเทพสิรินทราบรมราชินี
วัดราชประดิษฐ์สถิตย์มหาสีมาราม พ.ศ. 2407 อุทิศเพื่อคณะสงฆ์ธรรมยุต ซึ่งเป็นศิษย์ของพระองค์
วัดมกุฏกษัตริยาราม พ.ศ. 2403วัดมกุฏกษัตริยาราม พ.ศ. 2403
ประเพณีมาฆบูชา ทรงเห็นว่าวันเพ็ญเดือน 3 ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
ทรงวางพระองค์เป็นกลางในเรื่องลัทธินิกายแห่งศาสนา แม้พระองค์จะนับถือธรรมยุติกนิกายทรงวางพระองค์เป็นกลางในเรื่องลัทธินิกายแห่งศาสนา แม้พระองค์จะนับถือธรรมยุติกนิกาย
ทรงบำรุงพุทธศาสนามหายาน ลัทธิมหายานได้เสื่อมจากประเทศไทยเป็นเวลานาน ครั้งทรงผนวชรู้จักพระภิกษุญวนบางรูป
รัชกาลที่ 5
ทรงวางแนวการปกครองคณะสงฆ์ โดยทรงกรุณาโปรดเกล้าให้ตราพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 ขึ้น นับเป็นกษัตริย์องค์ที่ 2 ที่ตรากฏหมายเกี่ยวกับคณะสงฆ์ ตรงกับ พ.ศ. 2446
การสร้างและบูรณะวัด ในกรุงเทพฯ กษัตริย์ไทยทุกพระองค์ล้วนมีวัดประจำราชการ เช่น
ให้บรรจุพระบรมสาริกธาตุ ที่เจดีย์ภูเขาทองวัดสระเกศ เมื่อ พ.ศ. 2441 ที่ขุดพบที่เมืองกบิลพัสดุ์ ประเทศอินเดีย มีประเทศที่นับถือ คือ ญี่ปุ่น พม่า ลังกา ต่างต้องการพระองค์จึงแบ่งให้กับประเทศเหล่านี้ด้วย
ร้างพระไตรปิฎก เมื่อ พ.ศ. 2431 ทรงสร้างพระไตรปิฎกที่มีอยู่ในประเทศ เวลานั้นยังเป็นอักษรขอมอยู่ในใบลาน จึงโปรดให้พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นวชิรญาณวโรรส และพระเถระช่วยกันชำระและถ่ายทอดตัวอักษรขอมเป็นไทย แล้วพิมพ์ เป็นเล่มหนังสือ จำนวน 39 เล่ม พิมพ์ 1,000 ชุดแล้วพระราชทานไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวได้ว่า ไทยเป็นประเทศแรกที่พิมพ์พระไตรปิฎกเป็นเล่มหนังสือ
ให้วัดเป็นโรงเรียน โปรดให้พระราชาคณะ และพระครูฐานานุกรมทั้งหลาย เปรียญอันดับ สอนพระเณรและศิษย์วัด โดยพ่อแม่ได้นำลูกไปฝากเรียนที่วัด เพราะเล็งเห็นว่าจะเป็นประโยชน์เกื้อกูลต่อศาสนา ถ้าเป็นคฤหัสถ์จะเป็นกำลังแก่ทางราชการ
ทรงวางริเริ่มให้มีมหาวิทยาลัย พระองค์เคยเสด็จประภาสยุโรป ทรงเห็นการศึกษาของพระทางศาสนาคริสต์ มีการศึกษาชั้นสูง จึงมีพรระประสงค์ ต้องการให้พระไทยมีการศึกษาที่สูงบ้าง จึงทรงสถาปนามหาธาตุวิทยาลัยขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2432 ต่อมา พ.ศ. 2439 พระองค์จึงทรงพระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”