Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการวิชาชีพการพยาบาลในประเทศ - Coggle Diagram
พัฒนาการวิชาชีพการพยาบาลในประเทศ
ความหมายของวิชาชีพการพยาบาล
วิชาชีพ (Profession)
สาขาวิชาชีพที่มีลักษณะครบ 6 ประการ
ได้รับการศึกษาที่มีความรู้ในศาสตร์แห่งวิชานั้นเป็นเวลานานเพียงพอ
มีเสรีภาพในการให้บริการสังคม
ใช้วิธีการแห่งปัญญาและความสามารถในการประกอบกิจกรรม
มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
เน้นบริการที่จำเป็นในสังคม
มีองค์กรวิชาชีพที่ถูกต้องตามกฎหมาย
การพยาบาล (Nursing)
เป็นวิทยาศาสตร์ (Science)
เป็นการดูแลโดยผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง (Client centered)
เป็นศิลปะ (Arts)
เป็นการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม (Holistic)
เป็นการดูแลเพื่อการปรับตัว (Adaptive)
เป็นการดูแลในการส่งเสริมสุขภาพ (Heailth promotion)
เป็นการดูแลเอาใจใส่แบบเอื้ออาทร (Caring)
เป็นการดูแลช่วยเหลือแบบมืออาชีพ (Helping profession)
วิชาชีพการพยาบาล (Nursing profession)
สาขาอาชีพที่มีคุณลักษณะทั้ง 6 ประการ
ใช้วิธีการแห่งปัญญาและความสามารถ
การใช้องค์ความรู้
เป็นพื้นฐานในการตัดสินใจ หรือคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ใช้องค์ความรู้ทางการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินสภาพ (Assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
มีระยะเวลาศึกษาในวิชาชีพนานพอเพียง
เนื้อหาสาระวิชา
หมวดความรู้ทั่วไป
หมวดวิชาเฉพาะ
กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ
กลุ่มวิชาชีพ
หมวดวิชาเลือกเสรี
เน้นบริการในสังคม
มีอิสระและเสรีภาพในการให้บริการสังคม
มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
มีองค์กรวิชาชีพที่ถูกต้องตามกฎหมาย
สมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย
สมาคมพยาบาลห้องผ่าตัดแห่งประเทศไทย
สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย
วิวัฒนาการพยาบาลในประเทศไทย
สภาพสังคมและอิทธิพลที่มีต่อการกำเนิดการพยาบาล
สภาพสังคมและการรักษาพยาบาลของไทยในสมัยโบราณ
การรักษาโรคภัยไข้เจ็บ
ใช้เวทมนตร์ คาถา การเสกเป่า เพื่อไล่ผีหรือวิญญาณ
โรคระบาดในสมัยโบราณ "โรคห่า"
ไข้ทรพิษ
อหิวาตกโรค
กาฬโรค
ใช้ยาสมุนไพร
โรคทั่วไป
โรคตัวร้อน
โรคปอดบวม
โรคบิด
แนวทางการรักษาพยาบาล
ปรากฎหลักฐานในจารึกตำรายาบนแผ่นศิลา ประดับไว้บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ตำราแผนหมอนวด
หมวดบริหารร่างกาย
จารึกคำโคลงฤาษีดัดตน
จารึกบอกสมุฎฐานของโรค
วิธีรักษาเด็กและผู้ใหญ่
วิชาเภสัชเรื่องสมุนไพร
การตั้งครรภ์และการคลอดบุตร
การตั้งครรภ์
มารดาไม่กล้าบริโภคอาหารมาก
บุตรไม่ค่อยแข็งแรง
การคลอดบุตร
"หมอตำแย" เป็นคนทำคลอด
ใช้ไม่ไผ่ตัดสายสะดือเด็ก
ไม่มีการทำลายเชื้อโรค
เป็นโรคบาดทะยัก
สาเหตุการตายของทารกแรกเกิด
เน้นช่วยเหลือดูแลกันเองของสมาชิกภายในครอบครัวและชุมชน
อิทธิพลของการรักษาพยาบาลแบบตะวันตก
รัชกาลที่ 3
โน้มน้าวจิตใจของประชาชนให้ศรัทธาในพระเจ้า
นำวิทยาการใหม่ๆมาเผยแพร่
การปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ
การป้องกันและรักษาอหิวาตกโรค
การผ่าตัด
ใช้ควินินรักษาโรคไข้มาลาเรีย
มิชชันนารีคณะเพรสไบทีเรียน
นายแพทย์แดน บีช บรัดเลย์ (หมอบรัดเลย์)
นายแพทย์ซามูแอล เรโนล เฮ้าส์ (หมอเฮ้าส์)
รัชกาลที่ 4
นางรอด ประทีปเสน (Esther)
สำเร็จวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์แผนปัจจุบันคนแรก
เป็นบุตรบุญธรรมของนายและนางเมททูน (Matton)
พ.ศ.2404 ใช้วิธีการพยาบาลแบบตะวันตกทำคลอดและ ให้การพยาบาลหญิงไทยและชาวยุโรปที่พำนักอยู่ในประเทศไทย
เป็นพยาบาลคนแรกของประเทศไทย
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ตั้งคลินิก
จัดหน่วยเคลื่อนที่ออกช่วยเหลือผู้ป่วย
คณะมิชชีนนารีชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์
จุดกำเนิดของการศึกษาพยาบาลในประเทศไทย
กำเนิดโรงเรียนผดุงครรภ์แห่งแรก
อาศัยสถานที่ภายในโรงพยาบาลศิริราช
พระราชทานนามว่า "โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล"
โดยสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ
กำเนิดโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และโรงเรียนพยาบาลในประเทศไทย
โรงพยาบาลกรมตระเวน
โรงพยาบาลแมคคอร์มิค
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
จุดกำเนิดมาจากการผดุงครรภ์
การพยาบาลในระยะพัฒนาก่อนการเข้าสู่ความเป็นวิชาชีพ
ส่งพยาบาลไทยไปศึกษาที่ต่างประเทศ
มูลนิธิรอกกี้เฟลเลอร์จ้างครูพยาบาลอเมริกันมาช่วยสอนและวางรากฐานหลักสูตรการพยาบาลแผนใหม่
รับการเปลี่ยนแปลงไปสู่การพยาบาลแผนใหม่ตามรูปแบบของโรงเรียนไนติงเกล
มีห้องสาธิตการพยาบาลให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ
ระยะเตรียมพยาบาล 6 เดือน
เข้าเรียนพยาบาลเมื่อสอบผ่านและได้รับหมวก
เริ่มจากวางรากฐานการพยาบาลแผนใหม่
กำหนดหลักสูตรหลักพื้นฐานของพยาบาล
หลักสูตรพยาบาลสาธารณสุข
หลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติ
หลักสูตรพยาบาล
การศึกษาพยาบาลยุคเข้าสู่มาตรฐานวิชาชีพ
จัดหลักสูตรต่อเนื่องระดับปริญญาตรีทางการพยาบาล
หลักสูตรต่อเนื่องสำหรับผู้สำเร็จหลักสูตรระดับต่ำกว่าปริญญาตรี
หลักสูตรต่อเนื่องสำหรับผู้สำเร็จหลักสูตรระดับต้น
ก่อตั้งคณะพยาบาลศาสตร์แห่งแรก ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาจากพื้นความรู้ 10 ปี เป็น 12 ปี
เปิดสินหลักสูตรปริญญาตรีทางการพยาบาล
จัดการศึกษาต่อเนื่องในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง
จัดการศึกษาระดับปริญญาโททางการพยาบาล
จัดการศึกษาระดับปริญญาเอกทางการพยาบาล
จัดการศึกษาหลักสูตรพื้นฐานของพยาบาลวิชาชีพ เป็นระดับริญญาตรีหรือเทียบเท่าทั้งหมด
องค์กรวิชาชีพพยาบาลในประเทศไทย
สภาการพยาบาล (Nursing council of Thailand)
อำนาจหน้าที่ของสภาการพยาบาล
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการฝึกอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ของสถาบันการศึกษาที่จะทำการฝึกอบรม
รับรองวิทยฐานะของสถาบันที่จะทำการสอนและฝึกอบรมตาม (4) และ (5)
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรของสถาบันที่จะทำการสอน
รับรองปริญญาประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญาประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตรในวิชาชีพ
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษาของสถาบันที่จะทำการสอน
ออกหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญเฉพาะและหนังสือแสดงวุฒิอื่นๆในวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพ
สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วัตถุประสงค์
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และให้ความรู้แก่ประชาชน และองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง
ให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาด้านการพยาบาล
ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่งเสริมการศึกษา การบริหาร การวิจัย และความก้าวหน้าในวิชาชีพการพยาบาล
ผดุงความเป็นธรรม และส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก
ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้ถูกต้องตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย (The nurses association of Thailand)
เกิดจากการรวมตัวกันของพยาบาลระดับผู้นำวิชาชีพ และสมาชิกที่จะร่วมกันส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพ
พ.ศ.2504 จดทะเบียนเข้าเป็นสมาชิกของสภาพยาบาลระหว่างประเทศ
พ.ศ.2500 จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นองค์กรหลักในการดูแลและพิทักษ์ สิทธิประโยชน์ของผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล
ปลายพศ.2528 จัดตั้งสภาการพยาบาลแห่งประเทศไทยสำเร็จ
ก่อตั้งขึ้นในนามสมาคมนางพยาบาลแห่งกรุงสยาม
วัตถุประสงค์
เป็นศูนย์กลางรวมความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพพยาบาล
ส่งเสริมความสามัคคี จริยธรรม และมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
ส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางวิชาชีพ โดยสนับสนุนการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้
ช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเป็นอุปสรรคต่อความเจริญทางวิชาชีพ
ช่วยเหลือในการสร้างเสริมและผดุงไว้ซึ่งสวัสดิภาพ สุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่อันดีของสังคม
ช่วยเหลือสมาชิกในด้านสวัสดิการตามที่กำหนดไว้
เป็นตัวแทนสมาชิกในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ
ประสานกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ
การพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล
ด้านการศึกษาพยาบาล
ความจำเป็น
พยาบาลต้องมีความรู้ และความสามารถที่จะปฏิบัติการพยาบาลแก่ผู้ป่วย และรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพ
พยาบาลเป็นบุคคลสำคัญในการมีส่วนร่วมกำหนดนโยบายในการบริการสุขภาพ
จุดมุ่งหมาย
พัฒนาศาสตร์เฉพาะสาขาของพยาบาลขึ้นเป็นองค์ความรู้เฉพาะ เพื่อใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
พัฒนาระบบการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่เอื้อต่อการพัฒนาวิชาชีพด้านอื่นๆ
พัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลให้สามารถปฏิบัติงานได้สอดคล้องกับผู้ประกอบวิชาชีพอื่นๆ
วิวัฒนาการ
ในปัจจุบัน
สภาการพยาบาลออกมาตรการต่างๆเพื่อยกระดับการศึกษา
สถาบันการศึกษามีการขยายจำนวนมากขึ้น
พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ในอนาคต
คุณธรรมจริยธรรมสูงขึ้น
ความสามารถด้านการปฏิสัมพันธ์
ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการและเพิ่มทักษะปฏิบัติ
ความสามารถด้านภาษาสื่อสาร
ความสามารถด้านเทคโนโลยี
ความสนใจใฝ่รู้อย่างสม่ำเสมอ
ในอดีต
พ.ศ.2457 - โรงเรียนนางพยาบาลสภากาชาดสยาม
พ.ศ.2466 - โรงเรียนพยาบาลแมคคอร์มิค
พ.ศ.2439 - โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล
ด้านการบริการพยาบาล
ความจำเป็น
การให้บริการพยาบาลมีความสำคัญต่อการบริการสุขภาพ
สุขภาพของผู้รับบริการ (client health)
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีในการบริการสุขภาพ (innovation and technology)
การแข่งขันในธุรกิจการบริการสุขภาพ (competition)
ระบบบริการสุขภาพ (healthcare system)
การขาดแคลนพยาบาล (global nurse shortages)
ความต้องการรับบริการของผู้ป่วยที่ต่างวัฒนธรรม (cross cultural clients)
จุดมุ่งหมาย
ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติการพยาบาลให้สามารถให้บริการที่มีคุณภาพได้
แก้ปัญหาภาวะขาดแคลนพยาบาลและสร้างแรงจูงใจให้พยาบาลปฏิบัติงานเพิ่มมากขึ้น
สร้างองค์ความรู้ทางการพยาบาลและนำไปใช้ปรับปรุงการพยาบาลให้ทันสมัยมากขึ้น
พัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชากรได้
วิวัฒนาการ
การใช้ดัชนีการวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis Related Group = DRGs)
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล (nursing database)
การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (hospital accreditation)
การพัฒนาการบริการพยาบาลในประเทศไทย
ด้านการปฏิบัติการพยาบาล
การดูแลแบบผสมผสาน
นำศาสตร์อื่นเข้ามาแทรกในการปฏิบัติการดูแลผู้ใช้บริการ
ครอบคลุมองค์ประกอบทั้ง 4 มิติ
ทางจิต
ตระหนักถึงความต้องการของผู้ใช้บริการ
ทางสังคม
การเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเลือกตัดสินใจ
การรับฟัง
การสื่อสาร
การให้กำลังใจ
การตอบปัญหา
การสร้างสันติภาพ
ทางกาย
ช่วยเหลือให้ผู้ใช้บริการมีความสุข
ดูแลขั้นพื้นฐานที่มีความสำคัญในการช่วยตอบสนอง
ทางจิตวิญญาณ
เชื่อมโยงความเป็นองค์รวมของบุคคลให้มีคุณค่ามากขึ้น
สัมพันธ์กับ
ความเชื่อ
ความหวัง
ศาสนา
ความรัก
เป้าหมายชีวิต
ด้านการวิจัยทางการพยาบาล
ความจำเป็น
ต้องการข้อมูลที่ทันสมัยเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ปัญหาอุปสรรคของผู้ทำวิจัย
ต้องการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาล
ปัญหาและอุปสรรคของผู้ใช้งานวิจัย
ทัศนคติของผู้ใช้งานวิจัย
ขาดการเผยแพร่ผลการวิจัยที่สะดวกและเอื้อต่อผู้ใช้
นำเสนอผลงานวิจัยมีความซับซ้อน
หน่วยงานที่ต้องการนำงานวิจัยไปใช้ควรกำหนดนโยบายที่ชัดเจน เพื่อเพิ่มแรงจูงใจในการใช้ผลงานวิจัย
ต้องการสร้างองค์ความรู้ทางการพยาบาลเพิ่มมากขึ้น
จุดมุ่งหมาย
ส่งเสริมให้มีการทำวิจัยทางการพยาบาลเพิ่มมากขึ้น
สนับสนุนให้มีการนำผลการวิจัยไปใช้อย่างแพร่หลาย
พัฒนาความรู้ ทักษะและทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยทางการพยาบาล
พัฒนาผู้นำด้สนการวิจัยทางการพยาบาล
วิวัฒนาการ
พยาบาลระดับปริญญาตรี มีส่วนร่วมในการวิจัย โดยการให้และรวบรวมข้อมูล
พยาบาลระดับปริญญาโท เป็นผู้ทดสอบแนวคิด โดยนำผลการวิจัยไปใช้และทำซ้ำ
นักศึกษาระดับปริญญาตรี เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการใช้งานวิจัย
พยาบาลระดับปริญญาเอก เป็นผู้สร้างทฤษฎีจากงานวิจัย
เริ่มพัฒนาตั้งแต่ในสมัยมิสฟลอเรนซ์ ไนติงเกล
พยาบาลระดับหลังปริญญาเอก เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย และจัดหาทุนสนับสนุน
จรรยาบรรณนักวิจัย
ต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัยอย่างเพียงพอ
ต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
ต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัยตามข้อตกลงที่ทำไว้กับหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัย
ต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
ต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมทั้งในทางวิชาการและการจัดการ
ต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติทุกขั้นตอน
พึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
พึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของบุคคลอื่น
พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
ประเภทของการวิจัย
เชิงคุณภาพ
วิธีสร้างทฤษฎีกราวน์
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
วิธีการทางมานุษยวิทยา
การวิจัยปฏิบัติการ
วิธีการปรากฏการณ์วิทยา
การวิเคราะห์เนื้อหา
ผสานวิธี
เชิงปริมาณ
กึ่งทดลอง
แบบไม่ทดลอง
แบบทดลอง