Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
non massive hemoptysis, เลือดที่ออกจากทางเดินหายใจมาจากหลอดเลือดที่หล่อเลี…
non massive hemoptysis
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 80 ปี เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่4 สถานภาพ สมรส อาชีพ พนักงานกวาดถนน รายได้ 331บาท/วันสิทธิค่ารักษาพยาบาล สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่อยู่ปัจจุบัน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี การวินิจฉัยโรคแรกรับ non massive hemoptysis
(ภาวะไอเลือดออกไม่มาก )
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล ไอมีเลือดปน 1วันก่อนนำส่งโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน 1 เดือนก่อนมีอาการเหนื่อยเล็กน้อย ไม่ได้รับการรักษา 1 วันก่อนมาโรงพยาบาลไอมีปนเลือดจึงส่งโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ความดันโลหิตสูง
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว บิดาเป็นโรคหอบหืด
ข้อมูลของโรค
hemoptysis
การไอที่พบเลือดปนออกมาซึ่งเลือดที่ออกมานั้นมาจากปอดหรือหลอดลม การไอแล้วพบเลือดออกนั้นอาจเป็นเลือดจากอวัยวะอื่น เรียกภาวะนี้เรียกว่า pseudohemoptysis ซึ่งมักเป็นเลือดจากในทางเดินอาหารเป็นสาเหตุหลักหรืออาจจะมาจากในโพรงจมูก, คอ หรือก็ได้
Nonmassive hemoptysis คือมีปริมาณเลือดออกซึ่งน้อยกว่าปริมาณเลือดตามคำจำกัดความของ massive hemoptysis มีอัตราการเสียชีวิตต่า อย่างไรก็ตามผู้ป่วยกลุ่มนี้ก็อาจจะมีโอกาสเลือดออกซ้าอีกได้ และอาจกลายเป็น massive hemoptysis จึงจำเป็นต้องให้การวินิจฉัยและรักษาเช่นกัน
-
พยาธิสภาพของโรค
- Pulmonary circulation เป็นหลอดเลือดที่ออกจากหัวใจห้องขวาล่างโดยมีปริมาณ เลือดไหลเวียนร้อยละ 95 ของเลือดที่หล่อเลี้ยงปอดทั้งหมด ทำหน้าที่นำเลือดดำมาแลกเปลี่ยนก๊าซ ที่ถุงลมปอดให้กลายเป็นเลือดแดง แล้วส่งกลับเข้าไปสู่หัวใจห้องซ้ายบนเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายต่อไป แต่เนื่องจากมีแรงดันเลือดต่ำ กล่าวคือ pulmonary artery systolic pressure มีแรงดันเลือด 15-25 มิลลิเมตรปรอท และ pulmonary artery diastolic pressure มีแรงดันเลือด 5-10 มิลลิเมตรปรอท ดังนั้นถ้าเกิดเลือดออกจากระบบนี้มักมีปริมาณเลือดออกไม่มากจนทำให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว
-
- Bronchial circulation เป็นหลอดเลือดแดงที่ออกจาก descending aorta มีปริมาณเลือด ไหลผ่านประมาณร้อยละ 5 ของเลือดที่หล่อเลี้ยงปอดทั้งหมด แต่มีแรงดันเลือดสูงเท่ากับความดันโลหิต ผู้ป่วยที่ไอออกเลือดปริมาณมากจึงมักเกิดจากหลอดเลือดระบบนี้เป็นหลัก
การที่มีอาการไอออกมาเป็นเลือดได้แสดงว่ามีหลอดเลือดแตกและเลือดใหลเข้าไปยังปอดของ ผู้ป่วย ซึ่งอาจเกิดจากการที่มีการอักเสบหรือเนื้องอกบริเวณหลอดเลือด ทำให้เกิดการกัดเขาะ ของผนังหลอดเลือดหรืออาจเกิดจากความดันหลอดเลือดที่สูงขึ้นทำให้มีการแตกของหลอดเลือด
การวางแผนการรักษาพยาบาล
ข้อที่ 2
วิตกกังวลเกี่ยวกับสถานที่ที่เปลื่ยนไป
S = ผู้ป่วยบอกว่า
“อยากกลับบ้านเมื่อไหร่จะได้กลับ”
O = ผู้ป่วยเดินวนไปมา รอบเตียง
O = มีสีหน้าเป็นกังวล ไม่ยิ้มแย้ม ไม่สดใส
- สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย แสดงท่าทีเห็นใจผู้ป่วย
- สังเกตพฤติกรรม สีหน้า ท่าทาง ของผู้ป่วย
- เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถาม เกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
- แนะนำให้ญาติโทรเยี่ยมและ ให้กำลังใจผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ และหลีกเลี่ยงการพูดคุยในสิ่งที่ ทำให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวล
- ให้ยากล่อมประสาท หรือยานอนหลับ ตามแผนการรักษา
ข้อที่ 3
มีโอกาสเกิดโรคซ้ำเนื่องจากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม
O = ผู้ป่วยบอกว่า
“มีอาชีพเป็นพนักงานกวาดถนนขณะทำงานสวมหน้ากากอนามัยบ้างบางครั้ง”
1.อธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของโรค
การรักษาและวิธีการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วยและญาติ
2.ย้ำถึงความสำคัญของการป้องกันการเกิดโรคซ้ำ เช่น ส่วนใส่หน้ากากอนามัยตลาดเวลาเมื่อต้องออกไปทำงาน
3.แนะนำวิธีการดูแลตัวเองอย่างต่อเนื่องที่บ้าน เช่นการรับประทานยา การติดตามดูอาการตามแพทย์หรืออาจมีอาการผิดปกติให้มาพบแพทย์ทันที และหลีกเสี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงการเกิดโรคซ้ำ
ข้อที่ 1
เสี่ยงต่อการพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซน้อย
S = ผู้ป่วยบอกว่าหายใจไม่อิ่ม
O = ผล CxR pleural effusion
O = ใส่ท่อระบายทรวงอกชนิด 2 ขวด
- ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะลักษณะการหายใจว่ามีการหายใจเร็วและแรงขึ้นหรือมีอาการหายใจหอบเหนื่อยและสังเกตอาการ cyanosis
- จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงเพื่อทาให้กระบังลมเคลื่อนต่าลงไม่ไปดันปอดทาให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น
- ดูแลให้ได้ O, cannula 5 LPM เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้ร่างกาย
- สอนให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆ(Deep breathing ) และไออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective cough)ให้ถูกต้อง
- ติดตามผลการตรวจ CT scan Chest and whole abdomen เป็นระยะๆ
-
การรักษา
-
- การหาตำแหน่งเลือดออกและการรักษาเพื่อหยุดเลือด
2.1.1 การใส่ fogarty balloon เพื่ออุดหลอดลม
2.1.2 nasliars epinephrine, vasopressin, thrombin, fibrinogen-thrombin ใส่เข้าไปในหลอดลมบริเวณที่มีเลือดออก
-
-