Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา, อาการและอาการแสดง, gangrene, O: ผู้ป่วยมีสีหน้าท่าทางง่วงซึม,…
กรณีศึกษา
ข้อมูลทั่วไปผู้รับบริการ
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 63 ปี วัยผู้สูงอายุ เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ระดับการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สถานภาพ โสด อาชีพ รับจ้างทั่วไป รายได้ 3000/เดือนที่อยู่ปัจจุบัน จังหวัดนนทบุรี สิทธิ ค่ารักษาพยาบาล ผู้ประกันคนพิการ
-
-
-
-
-
ข้อวินิจการพยาบาล
- พร่องกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง
- ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
- มีภาวะเกิด hypoglycemia / hyperglycemia เนื่องจากขาดความรู้และมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมในการปฏิบัติตัวในโรคเบาหวาน
- เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุผลัดตกหกล้มเนื่องจากมีแขนขาข้างซ้ายอ่อนแรง
พยาธิสภาพของโรค
-
ทำให้ผู้ป่วยปัสสาวะบ่อย (Polyuria) พร้อมกับสูญเสียเกลือแร่บางชนิดโดยเฉพาะโซเดียมร่างกายจึงขาดทั้งอาหารน่าและเกลือแร่จึงมีอาหารหิวบ่อยกัน (Polyphagia) กระหายน้ำดื่มน้ำบ่อย (Polydipsia) และน้ำหนักลดผอมลงบางรายอ่อนเพลียอาการมากน้อยแล้ว แต่การสูญเสียนาตาลน่าและเกลือแร่ไปเป็นแบบเรื้อรัง
โรคเบาหวานเกิดขึ้นจากการที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงในการเผาผลาญสารอาหารจําพวกคาร์โบไฮเดรตไขมันและโปรตีนเนื่องจากความไม่สมดุลของการใช้กับการสร้างอินซูลินร่างกาย
สภาวะติดเชื้ออินซูลินจะมีหน่วยที่ควบคุมอัตราการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตไขมันและโปรตีนการพร่องอินซูลินพบสาเหตุใหญ่ ๆ อย่างน้อย 4 ปัจจัย
-
-
-
-
จะทําให้กลูโคสในกระแสเลือดผ่านเข้าสู่เซลล์ได้ชาในขณะเดียวกันจะมีการสร้างกลูโคสจากไกลโคเจนที่ตับปัจจัยทางภาวะภูมิต้านทานและมีการดูดซึมเพิ่มจากอาหารที่รับประทานเข้าไป
-
อาการและอาการแสดง
-
ปัสสาวะบ่อยขึ้น
การขขับปัสสาวะบ่อยเกิดจากกลไกการทำงานของไตที่พยายามจะกรองแยกสารอาหารที่มีประโยชน์ (น้ำตาล) กลับคืนสู่ร่างกายและคัดกรองของเสียออกจากเลือดแล้วขับออกจากร่างกายไปโดยส่งไปพร้อมกับปัสสาวะจึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ
การกระหายน้ำบ่อยขึ้น
เพราะร่างกายต้องการน้ำเพื่อไปทดแทนน้ำที่เสียไปจากการขับปัสสาวะทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานจะรู้สึกคอแห้งและกระหายน้ำมากกว่าปกติที่เคยไม่ว่าช่วงนั้นจะมีอากาศร้อนหรืออากาศเย็นก็ตามนอกจากอาการกระหายน้ำแล้วยังสามารถดื่มน้ำได้มากในแต่ละครั้งที่ดื่มอีกด้วย
ตาพร่ามัว
เนื่องจากระดับน้ำตาลในร่างกายที่มากกว่าปกติเป็นสาเหตุท่าให้ร่างกายขับน้ำตาลออกมาทางเลนส์ตาเมื่อรับน้ำที่ผ่านเข้าเลนส์ตาก็จะทำการซับน้ำไว้ให้ได้มากที่สุดจึงเกิดการทำงานที่ผิดปกติเป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการตาพร่ามัวมองภาพได้ไม่ชัดหรือถ้าเป็นมากจะเห็นน้ำไหลออกมาจากดวงตา แต่ไม่ใช่น้ำตาน้ำที่ไหลออกจากจะมีลักษณะเหนียวขัน
-
โรคเบาหวาน
การรักษา
อินซูลินออกฤทธิ์ยาว (long acting human insulin) เริ่มออกฤทธิ์ 2 ชั่วโมงออกฤทธิ์นาน 18-24 ชั่วโมง Lantus Levemir
อินซูลินออกฤทธิ์นานปานกลาง (intermediate acting human insulin) เริ่มออกฤทธิ์ 24 ชั่วโมงออกฤทธิ์สูงสุด 4-8 ชั่วโมงออกฤทธิ์นาน 10-16 ชั่วโมง Hunmulin Insulatard Monotard
ยาฉีดอินซูลินชนิดออกฤทธิ์เร็ว (rapid acting insulin analog) เริ่มออกฤทธิ์ 5-15 นาทีออกฤทธิ์สูงสุด 1-2 ชั่วโมงออกฤทธิ์นาน 3-4 ชั่วโมง Lispro Aspart
อินซูลิ่นผสมสำเร็จรูป (pre-mixed 30% RI + 7056NPH: mixtard 30HM) เริ่มออกฤทธิ์ 30-60 นาทีออกฤทธิ์สูงสุด 2-3 ชั่วโมงออกฤทธิ์นาน 12 20 ชั่วโมง Hunmulin 70/30 Mixtard30 Humalog mix 25 Novomix 30
อินซูลินออกฤทธิ์สั้น (short acting human insulin) เริ่มออกฤทธิ์ 30-45 นาทีออกฤทธิ์สูงสุด 2-3 ชั่วโมงออกฤทธิ์นาน 4-8 ชั่วโมง Regular insulin
-
-
-
gangrene
-
-
-
สาเหตุ
การขาดเลือด เนื่องจากเลือดมีหน้าที่สำคัญในการขนส่งออกซิเจนและสารอาหารไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทั้งยังเป็นส่วนสำคัญในระบบภูมิคุ้มกันด้วย หากเลือดไม่สามารถเดินทางไปยังบริเวณใดของร่างกายได้ เซลล์ในบริเวณนั้นจะไม่สามารถอยู่รอดได้ ซึ่งการบาดเจ็บและบาดแผลต่าง ๆ ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เลือดไม่สามารถไหลเวียนได้ตามปกติ ทั้งยังง่ายต่อการติดเชื้อแบคทีเรียต่าง ๆ ได้อีกด้วย
-
-
-
-
-
-
O: อุณหภูมิร่างกาย วันที่ 29 มีนาคม 2564
เวลา 10.00น. = 38.5 องศาเซลเซียส
เวลา 14.00น. = 37.8 องศาเซลเซียส
วันที่ 30 มีนาคม 2564
เวลา 14.00น. = 37.8 องศาเซลเซียส
-
เกณฑ์การประเมินผล
- ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลียลดน้อยลง เช่น สีหน้าท่าทางไม่ง่วงซึม สีหน้าดูสดใสขึ้น
- ปวดเมื่อยตามร่างกายลดน้อยลง
- อุณหภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ ( 36.5 37.4 องศาเซลเซียส )
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง เพื่อ ติดตามอาการของผู้ป่วยเมื่ออุณหภูมิร่างกายสูง
- ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆวันละ 2,000 3,000ซีซี (8 12 แก้ว) เพื่อระบายความร้อนออกจากร่างกายทางปัสสาวะและป้องกันภาวะขาดน้ำ
- เช็ดตัวลดไข้ ไม่เปิดพัดลมขณะเช็ดตัวเพื่อป้องกันอาการหนาวสั่น ถ้าผู้ป่วยมีอาการหนาวสั่นควรให้ความอบอุ่น (keep warm) ก่อน เมื่อหายจากอาการหนาวสั่นแล้วจึงเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำอุ่น
- วาง lce bag หรือผ้าเย็นที่หน้าผากเพื่อระบายความร้อนออกจากร่างกาย
- ดูแลสุขวิทยาโดยทั่วไปเช่น ผิวหนัง ปาก ฟัน ให้สะอาด เนื่องจากการมีไข้จะทำให้มีเหงื่อและกลิ่นปาก
- จัดสิ่งแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก สวมเสื้อผ้าตามสภาพอากาศ
- ดูแลให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา
การประเมินผล
- ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลียลดน้อยลง เช่น สีหน้าท่าทางไม่ง่วงซึม สีหน้าดูสดใสขึ้น
- ปวดเมื่อยตามร่างกายลดน้อยลง
- อุณหภูมิร่างกายลดลงจากเดิม
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ป่วยจะเรียกเวลาหิวน้ำ “เอาน้ำมาให้กินหน่อย”
O: ผู้ป่วยใส่ผ้าอ้อมสำเร็จรูป
O: เนื้อตัวผู้ป่วยมอมแมม
O: ผู้ป่วยไม่สามารถลุกเข้าไปเข้าห้องน้ำได้ด้วยตนเอง
O: แบบประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Activity of Daily Living) คะแนนอยู่ที่ 5-11 คะแนน
-
เกณฑ์การประเมินผล
- ผู้ป่วยได้รับการตอบสนองด้านกิจวัตรประจำวัน
- ร่างกาย ปาก ฟัน สะอาด
- เสื้อผ้า และสิ่งแวดล้อมรอบข้างสะอาด
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย
- ดูแลเรื่องสุขวิทยาให้แก่ผู้ป่วยโดยการช่วยเช็ดตัวเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกวันเพื่อความสะอาดและสุขสบายแก่ผู้ป่วย
- แนะนำผู้ป่วยและสอนญาติดูแลในด้านการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยเช่นการเคลื่อนไหวการลุกนั่งและการเสริมสร้างทักษะและการกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับประทานอาหารครบทุกมื้อโดยจัดเตรียมถาดอาหาร อาหาร น้ำ วางบน โอเวอร์เบส ให้เรียบร้อย เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดอันตรายในการรับประทานอาหาร
- ดูแลผู้ป่วยเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะโดยการดูแลทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ทุกครั้งและเปลี่ยนแพมเพิสให้แก่ผู้ป่วยเพื่อลดการสะสมของเชื้อโรค
- ดูแลแบบแผนการพักผ่อนและการนอนหลบของผู้ป่วยแนะนำให้นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอแนะนำให้จัดหาที่นอนที่นิ่มและจัดสถานที่ให้ผู้ป่วยนอนในที่โล่งอากาศถ่ายเทสะดวก
- ดูแลแบบแผนการคิดและการตัดสินใจของผู้ป่วยและญาติโดยพูดคุยกระตุ้นให้ผู้ป่วยและญาติได้คิดและตัดสินใจในการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
- ดูแลผู้ป่วยโดยให้ผู้ป่วยออกกำลังกายบนเตียงช่วยเหลือผู้ป่วยออกกำลังโดยออกแบบ Passive exercise ยกแขนขึ้นงอเหยียดศอกงอและเหยียดข้อมือหุบกางนิ้ว
การประเมินผล
1.ผู้ป่วยมีสุขวิทยาที่ดี ชุดที่ใส่สะอาด เนื้อตัวมีกลิ่นหอมที่นอนสะอาดไม่มีกลิ่นไม่พึ่งประสงค์ ได้รับการทำความสะอาดอวัยวะเพศหลังการขับถ่าย
2.สามารถออกกำลังกายบริหารกล้ามเนื้อด้วยตนเองได้
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
O: แขนขาข้างซ้าย motor power grade
O: มีแผลบริเวณนิ้วหัวแม่เท้าของเท้าข้างซ้าย
-
เกณฑ์การประเมินผล
- ผู้ป่วยไม่มีบาดแผลตามร่างกายเพิ่มขึ้นจากเดิม
- ผู้ป่วยไม่ตกเตียง
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
1.1 ทำแบบบันทึกการประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
- ตรวจสอบความแข็งแรงของไม้กั้นเตียง ถ้ามีการเลื่อนหลุดต้องรีบแก้ไข
- ดึงไม้กั้นเตียงทั้ง 2 ข้างทุกครั้งเมื่อผุ้ป่วยอยู่ตามลำพัง
- จัดหาสัญญาณเรียกพยาบาลไว้ใกล้มือผู้ป่วย ถ้าผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือให้กดสัญญาณเรียกได้ตลอดเวลา
- จัดแก้วน้ำ เครื่องใช้ต่าง ๆที่ผู้ป่วยใช้บ่อย ๆไว้ด้านที่ผู้ป่วยสามารถหยิบเองได้สะดวก เพื่อผู้ป่วยจะได้ไม่ต้องเอื้อมหยิบของใช้ป้องกันการตกเตียง
- ไม่ปล่อยให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวเมื่อปิดม่านให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะบนเตียง พยาบาลควรอยู่ใกล้ๆ เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันทีเมื่อผู้ป่วยต้องการ
- ส่งปรึกษาแผนกกายภาพบำบัดเพื่อให้ผู้ป่วยฝึกการดูแลตนเองและการใช้อุปกรณ์ เช่น รถนั่ง walker aid ไม้เท้า
- กระตุ้นให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยสอนให้ญาติให้มีทักษะในการช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างปลอดภัยเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินระดับความรู้สึกตัวและอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย เช่น ซึม กระวนกระวาย ชักหรือหมดสติ เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที
- ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ ให้ทราบถึงสาเหตุ อาการและอาการแสดงภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ/น้ำตาลในเลือดสูง เพื่อจะป้องกันอันตรายจากโรค
- แนะนำเกี่ยวกับอาหาร ควรเลือกอาหารที่มีสัดส่วนของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันในสัดส่วนที่พอเหมาะ รับประทานอาหารเป็นเวลา และลดการดื่มน้ำหวานให้กับผู้ป่วยและญาติ
- วัดสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลง และวางแผนการช่วยเหลือได้ทันท่วงที
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารนํ้าทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันภาวะการขาดนํ้า ซึ่งจะทำให้เกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่าได้
6.เจาะตรวจระดับน้ำตาลที่ปลายนิ้วทุก 4 ชั่วโมง
-
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ป่วยชอบบ่นหิวน้ำ “กินน้ำๆขวดสีส้มๆ”
S: ผู้ป่วยบอกว่า “มีอาการชักเลยได้มานอนโรงพยาบาล”
S: ผู้ป่วยบอกว่า “เป็นเบาหวานปี 60 แต่ไม่ได้รักษา”
O: ญาติผู้ป่วยซื้อนม ขนม มาให้ผู้ป่วยเกือบทุกวัน
O: ผู้ป่วยจะดื่มนม น้ำโออีชิ ขนมหวาน เป็นประจำ
O: ผู้ป่วยรับประทานผลไม้ที่มากับอาหารหมดเกือบทุกครั้ง
O: ผลตรวจ DTX วันที่ 29 มีนาคม 2564 เวลา 07.00น. = 178 mg%เวลา 11.00น. = 332 mg%เวลา 20.00น. = 198 mg%วันที่ 30 มีนาคม 256407.00น. = 237 mg%
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การตรวจ ABI 👨⚕️ อาจเกิดผลลบปลอมได้ในกลุ่มที่มีค่า ABI > 1.4 เพราะผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจมีอาการตีบของหลอดเลือดโดยที่ค่า ABI ไม่ลดต่ำลงจนเข้าเกณฑ์ว่ามีการตีบของหลอดเลือดที่ขา (ABI < 0.9) ซึ่งภาวะนี้อาจพบได้ในผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งตัว เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคไตวายเรื้อรัง หรือมีป่วยที่มีภาวะที่หินปูนแคลเซียมเกาะตัวที่ผนังหลอดเลือด ซึ่งในกรณีนี้ถ้าผู้ป่วยมีอาการที่แพทย์สงสัยว่ามีภาวะหลอดเลือดแดงที่ขาตีบ แต่มีค่า ABI มากกว่า 1.4 แพทย์อาจต้องมีการส่งตรวจด้วยวิธีอื่น ๆ เพิ่มเติมตามความเหมาะสม