Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CA Endometrium (มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก) - Coggle Diagram
CA Endometrium
(มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก)
1.ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ64ปี เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ รูปร่างสมส่วน ที่แขนข้างซ้าย on NSS lock มาโรงพยาบาลพระนั่งเกล้าฯด้วยอาการเมื่อ1เดือนก่อนมีไข้ ไอ มีเลือดออกบริเวณช่องคลอด แพทย์วินิจฉัยเป็นCA Endometrium(มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก) stageIII C3 cแพทย์ทำการผ่าตัดวันที่9มีนาคม2564 และนัดมาให้เคมีบำบัดครั้งที่1วันที่30มีนาคม2564
3.ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค
3.2ยาบางชนิด เช่น ยารักษาเสริมสำหรับมะเร็งเต้านมชื่อ tamoxifen เมื่อได้รับต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลาหนึ่งอาจมีผลกระตุ้นการทำงานของเยื่อบุโพรงมดลูกจนกลายเป็นมะเร็ง
-พันธุกรรม (Hereditary non-polyposis colorectal cancer, HNPCC) ในปัจจุบันมีข้อมูลมากขึ้นเกี่ยวกับความผิดปกติทางพันธุกรรมชนิดหนึ่งซึ่งเป็นยีนที่ใช้ในการซ่อมแซมความผิดปกติ และเป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกร่วมกันกับมะเร็งลำไส้ในผู้ป่วยรายเดียวกัน
3.1ภาวะอ้วนหรือน้ำหนักเกิน เนื่องจากมีการผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนเพิ่มขึ้นจากเนื้อเยื่อไขมันบางส่วนจนกลายเป็นสาเหตุของมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
2.พยาธิสภาพของโรค(แบ่งเป็น8ชนิด)
2.3Serous endometrial intra epithelial carcinoma เซลล์จะอยู่ที่บริเวณเยื่อบุผิวหรือที่glandเท่านั้น จะไม่มีการลุกลามไปที่stroma มักพบในสตรีที่มีอายุมากหลังหมดประจำเดือนลักษณะที่ชัดเจนคือมีนิวเคลียสผิดปกติ นิวคลีโอไลใหญ่ผิดปกติมีไซโตพลาสซึมปริมาณน้อย
2.5Neuro endocrine tumors มีขนาดเซลล์เล็ก ไม่ยึดติดกัน มีของเขตชัดเจน ลักษณะของนิวเคลียสบิดเบี้ยว
2.2Mucinous carcinoma มีความสัมพันธ์กับการได้รับยาทาม็อกซิเฟน พบเป็นเซลล์เดี่ยวๆหย่อมเล็กๆมักจะพบมะเร็งลอยอยู่ในสารmucin
2.6Undifferentiated carcinoma คือเซลล์มะเร็งมีขนาดเล็กถึงกลางขนาดสม่ำเสมอ เรียงตัวกันเป็นแผ่นโดยไม่มีglandและไม่เกาะกลุ่มกัน
2.1Endometrioid carcinoma สัมพันธ์กับฮอร์โมนเอสโตรเจน ลักษณะทางพยาธิสภาพคือเปลี่ยนแปลงจากเนื้อเยื่อปกติไปเป็นมะเร็งอย่างเฉียบพลันหรือเปลี่ยนแปลงจากเนื้อเยื่อบุโพรงมดลูกเป็นมะเร็ง ลักษณะเซลล์จะเรียงตัวเป็นcolumnar epithelial gland ตัวcytoplasmจะมีสีแดง มีของบนิวเคลียสหนา
2.7Carcino sarcoma คือสัมพันธ์กับการได้รับยาtamoxiphenและการได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนเป็นเวลานาน ลักษณะเซลล์มะเร็งเรียงตัวกันเป็นแนวยาว
2.4Clear cell carcinoma มีลักษณะเซลล์ใหญ่ มีการแบ่งตัวของไซโตพลาสซึมมากมีสีใสหรือในบางครั้งมีสีชมพู
5.ระยะของมะเร็ง
ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามไปยังปากมดลูก
ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปยังผิวชั้นนอกมดลูก ปีกมดลูก ช่องคลอด ต่อมน้ำเหลืองในอุ้งเชิงกรานและช่องท้อง
ระยะที่ 1 มะเร็งอยู่ภายในมดลูกเท่านั้น
ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามกระเพาะปัสสาวะ ลำไส้ หรือแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น
6.การวินิจฉัยโรค
6.1การตรวจอัลตร้าซาวด์ทางช่องคลอด (Transvaginal ultrasound) เพื่อประเมินความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูก รวมทั้งข้อมูลอื่นเช่น ขนาดมดลูก ลักษณะของปีกมดลูกรวมทั้งรังไช่
6.3การตรวจเลือด โดยมากมักเป็นการตรวจเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการผ่าตัด เช่น ความเข้มข้นเลือด สารเคมีและเกลือแร่ในเลือด สำหรับการตรวจระดับของสารบ่งชี้มะเร็งในเลือด (Tumor markers) ไม่สามารถให้การวินิจฉัยโรคได้ชัดเจน
6.4การตรวจพิเศษอื่น เช่น CT MRI หรือ PET-scan จะใช้เมื่อสงสัยมีการลุกลามของมะเร็งไปยังอวัยวะข้างเคียงหรือมีการแพร่กระจายไปบริเวณอวัยวะอื่น
6.2การเก็บชิ้นเนื้อโพรงมดลูกเพื่อส่งตรวจ (Endometrial biopsy) เดิมทีอาศัยการขูดมดลูกซึ่งทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวด รวมทั้งเสียเวลาและค่าใช้จ่ายพอสมควร ในปัจจุบันอาศัยการเก็บชิ้นเนื้อโดยใช้อุปกรณ์ขนาดเล็กใส่เข้าไปในมดลูกเพื่อดูดเนื้อเยื่อโพรงมดลูกบางส่วนมาส่งตรวจทางพยาธิวิทยาและให้การวินิจฉัยโรคได้อย่างแม่นยำ
การซักประวัติ
ประวัติด้านมารดาและบิดา
ชนิดของมะเร็งที่สมาชิกในครอบครัวเป็นกรณีศึกษา มารดาเป็นมะเร็งเต้านม
เชื้อชาติ กรณีศึกษา ไทย
4.อาการและอาการแสดง
อาการที่ทำให้มาพบแพทย์คือ มีเลือดออกผิดปกติถ้าเป็นสตรีในวัยเจริญพันธุ์มักจะมาด้วยเรื่องมีเลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์แต่บางรายอาจมาพบแพทย์ด้วยเรื่องเลือดออกที่ไม่ใช่ประจำเดือนมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกมักจะไม่แสดงอาการจนกว่าจะเข้าสู่ระยะลุกลามซึ่งมักจะพบในสตรีที่เริ่มเข้าสู่วัยสูงอายุ การผลิตขนาดใหญ่จะทำให้เกิดการติดเชื้อมีสารคัดหลั่งออกทางช่องคลอด หรือบางครั้งเกิดอาการตกเลือดภายหลังได้ จะมีอาการปวดอุ้งเชิงกราน ปวดก้นกบหรือขาบวม
7.การรักษา
7.2 รังสีรักษา ซึ่งประกอบด้วยการฉายรังสีและการฝังแร่ ถูกใช้เป็นการรักษาเสริมหลังจากผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดเพื่อลดโอกาสกลับมาเป็นซ้ำในผู้ป่วยบางรายที่มีความเสี่ยง การรักษาโดยวิธีนี้ใช้เวลาประมาณ 1 ถึง 2 เดือน และอาจมีผลข้างเคียงที่แตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละราย
7.1 การผ่าตัด เป็นการรักษาเบื้องต้นและผลการผ่าตัดสามารถบอกระยะของโรคได้อย่างถูกต้อง โดยแพทย์จะทำการผ่าตัดมดลูกและปีกมดลูกทั้ง 2 ข้างเพื่อพิจารณาโอกาสที่มะเร็งจะมีการแพร่กระจายไปต่อมน้ำเหลือง หลังจากนั้นจะเลาะต่อมน้ำเหลืองบริเวณอุ้งเชิงกรานและในช่องท้องสำหรับผู้ป่วยบางรายที่มีความเสี่ยงดังกล่าว เมื่อทราบผลการตรวจแล้วแพทย์จะสามารถบอกระยะของโรคที่ถูกต้องรวมถึงวางแผนการรักษาต่อไปได้
7.3 เคมีบำบัด แพทย์จะพิจารณาให้เคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกที่มีการแพร่กระจายหรือมีความเสี่ยงต่อการกลับเป็นซ้ำสูงเช่น ผู้ป่วยระยะที่ 4 หรือระยะที่ 3 บางราย การรักษาวิธีนี้ใช้เวลาประมาณ 3 ถึง 6 เดือน ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับเคมีบำบัดควบคู่ไปกับรังสีรักษา ผลข้างเคียงทั่วไปจากการได้รับเคมีบำบัดเช่น คลื่นไส้หรืออาเจียน มือเท้าชาและผมร่วง จะได้รับการการดูแลจากแพทย์ผู้รักษา ทำให้ผู้ป่วยสามารถรับการรักษาต่อเนื่อง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
3.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลียจากการได้รับยาเคมีบำบัด(Paclitaxel 280mg (175mg/m2)in NSS 500ml intravenous over 3 hr. dri
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมบนเตียง
2.แนะนำให้ผู้ป่วยเปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
2.ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการรักษาด้วยเคมีบำบัด
กิจกรรมการพยาบาล
1.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้เล่าถึงความไม่สบายใจ
2.อธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับการให้เคมีบำบัด
1.มีอาการคลื่นไส้อาเจียนเนื่องจากผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด Paclitaxel 280 mg (175mg/m2) in NSS 500 ml. IV over3hr. dripช้าๆใน30นาทีแรกและ Carboplatin 470 mg (AUC5) in5%DW 100ml. IV drip in 1 hr.
กิจกรรมการพยาบาล
1.วัดสัญญาณชีพทุก2ชั่วโมง
2.ดูแลให้ได้รับยาLorazepam(1 mg)1tab oral bid ac เพื่อรักษาอาการคลื่นไส้ อาเจียน