Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tumor immunity - Coggle Diagram
Tumor immunity
tumor antigens แบ่งตามลักษณะโครงสร้างของโมเลกุลและแหล่งกาเนิดของแอนติเจนนั้น
Products of mutated oncogenes and tumor suppressor genes
Products of other mutated genes
เกิดการกลายพันธ์ของยีนอื่นๆ ภายในเซลล์ นอกเหนือจาก protooncogene และ tumor suppressor gene ส่วนมากเกิดจากการสัมผัสสารเคมีก่อมะเร็งหรือรับรังสีเข้าไป ทาให้เกิดเป็นมะเร็ง
Tumor antigens encoded by genomes of oncogenic viruses
โปรตีนที่สร้างจากยีนของไวรัสที่ก่อโรคมะเร็ง
Overexpressed and abnormally expressed cellular proteins
โปรตีนกลุ่มนี้อาจพบได้ในสภาวะปกติ หรืออาจจะเป็นโปรตีนที่ไม่มีการแสดงออกก็ได้ แต่ในเซลล์มะเร็งจะมีการสร้างและแสดงออกสูงขึ้นผิดปกติ หรือพบได้ในบางช่วงของการเจริญเติบโต
Oncofetal antigens
เป็นโปรตีนที่ปกติจะพบเฉพาะในทารกที่กาลังเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์ ไม่พบในผู้ใหญ่ แต่พบการแสดงออกของโปรตีนสูงผิดปกติในเซลล์มะเร็งและกระแสเลือด
Altered glycolipid and glycoprotein antigens
ในโรคมะเร็งหลายชนิดมีการแสดงออกของ glycoproteins หรือ glycoipid สูงผิดปกติ หรือมีโครงสร้างผิดปกติไป
กลไกการหนีระบบภูมิคุ้มกันของเซลล์มะเร็ง
2.เซลล์มะเร็งส่วนใหญ่ ไม่มีการแสดงออกของ co-stimulator molecules ทาให้การกระตุ้น T lymphocytes ให้แบ่งตัวเพิ่มจานวนและเปลี่ยนรูปร่างไปเป็น effector CTL ไม่มีประสิทธิภาพ
1.กดการสร้างและการแสดงออกของ MHC class I บนผิวของเซลล์มะเร็ง โดยการลดการสร้างโปรตีนทีเป็นส่วนประกอบของ MHC class I
3.เซลล์มะเร็งอาจจะสร้างสารบางตัวที่สามารถยับยั้งการทางานของระบบภูมิคุ้มกันได้
4.Tumor antigen ที่สร้างโดยเซลล์มะเร็งมีความเป็นแอนติเจนต่า อาจเนื่องมาจากการเกิด mutationของยีน
5.Tumor antigen เหนี่ยวนาให้เกิด immunologic tolerance
6.โมเลกุลบนผิวเซลล์มะเร็งถูกซ่อนจากระบบภูมิคุ้มกัน เรียกว่า antigen masking ด้วยการสร้าง glycocalyx molecule
การตอบสนองของภูมิคุ้มกันต่อเซลล์มะเร็ง
การทางานของ T lymphocyte
ย่อย tumor antigen และนาเสนอผ่าน MHC class I โดย APC ทาให้ CD8 T lymphocyte แบ่งตัวเพิ่มจานวน และเปลี่ยนไปเป็น CTL แต่บางครั้ง tumor antigen จะถูกนาเสนอต่อ CD4 T cells ผ่าน MHC c lass II บน APC และไปกระตุ้นผ่าน cytokines ให้มีการสร้างและทางานของ CTL มากขึ้นได้เช่นกัน เรียกว่า cross-priming
การทางานของ NK cells
NK cells ช่วยในการกาจัดเซลล์ที่หนีรอดจากการถูกทาลายโดย CTL นอกจากกระบวนการ ADCC แล้ว NK cells สามารถกาจัดเซลล์มะเร็งได้โดยตรง
ภูมิต้านทานผ่านแอนติบอดี
การทางานของแอนติบอดีชนิด IgG ทาลายเซลล์เนื้องอกโดยใช้ปลาย Fab จับแอนติเจนบนผิวเซลล์เนื้องอกแล้วกระตุ้นระบบคอมพลีเมนต์ทาให้เซลล์แตกและกระบวนการอักเสบจนเซลล์มะเร็งถูกกาจัดไป นอกจากนี้ แอนติบอดีสามารถกาจัดเซลล์มะเร็งผ่านกลไก Antibody-dependent cell-mediated cytotoxicity (ADCC) โดย NK cells และกลไก opsonization and phagocytosis โดย macrophage
การทางานของ macrophage
Macrophage สามารถจับกินเซลล์มะเร็งได้โดยตรง หรือผ่าน FC receptor นาเข้าไปย่อยทาลายด้วย lysosomal enzyme, Reactive oxygen intermediates และ Nitric oxide เซลล์ macrophage ถูกกระตุ้นให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นโดย IFN-gamma จาก T cells นอกจากนี้ activated macrophage จะผลิต TNF-alpha ซึ่งเป็น cytokines ที่ฆ่ามะเร็งได้โดยเหนี่ยวนาให้เกิด thrombosis ใน tumor blood vessel
Tumor antigen แบ่งตามการแสดงออก
tumor-associated antigens (TAA) เป็นแอนติเจนที่พบทั้งเซลล์มะเร็งและเซลล์ปกติอื่นด้วย ในเซลล์มะเร็งจะมีการแสดงออกของแอนติเจนนี้ผิดปกติ
tumor-specific antigens (TSA) แอนติเจนที่พบบนเซลล์เนื้องอกหรือมะเร็งเท่านั้น ไม่พบบนเซลล์ปกติ แอนติเจนบางชนิดจาเพาะต่อมะเร็งชนิดเดียว แอนติเจนบางชนิดพบได้ในมะเร็งหลายชนิด
Immunotherapy สำหรับการรักษามะเร็ง
Active immunotherapy
เป็นการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายของผู้ป่วยมะเร็งให้มีประสิทธิภาพและกาจัดมะเร็งออกไป ด้วยการคิดค้นวัคซีนต่างๆ
Passive immunotherapy
การให้ไซโตไคน์
การให้แอนติบอดี
การให้แอนติบอดีรักษามะเร็งนิยมใช้ monoclonal antibody ที่จาเพาะต่อ tumor antigen บนผิวของเซลล์มะเร็ง
การให้ effector cells เข้าไปในผู้ป่วย
การให้ effector cells เข้าไปในผู้ป่วย หรือเรียกว่า adoptive transfer of effector cells