Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Elderly pregnancy
(Choronic HT,Previous C/S)
นศพต.ธัญรดา งามช่วง เลขที่…
Elderly pregnancy
(Choronic HT,Previous C/S)
นศพต.ธัญรดา งามช่วง เลขที่ 28
1.ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไป
ญ ตั้งครรภ์ อายุ 40 ปี G2P1001 GA 37+2 wks. by date
17 ส.ค. 47 FT C/S due to placenta previa เพศชาย แข็งแรงดี รพ.กล้วยน้ำไท
LMP : 11 ก.ค. 63 EDC : 17 เม.ย. 64
นน.ก่อนตั้งครรภ์ 68 kg ส่วนสูง 164 cm BMI 24.98 kg/m2
ประวัติการเจ็บป่วย : Hypertension รับประทานยา Prenolol 50 mg 11 oral p.c. หยุดกิน 1 สัปดาห์ก่อนมาฝากครรภ์
ประวัติการเจ็บป่วยครอบครัว : บิดามารดาผู้ป่วยเป็น HT,ย่าสามีเป็นโรคไต
ประวัติการผ่าตัด : พ.ศ.2547 ผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง, ก.ย. 62 ผ่าตัดเสริมจมูก, ก.พ. 63 ผ่าตัดไส้ติ่ง
ปฏิเสธการแพ้ยาและอาหาร
Vaccine dT 1,2 ปี 47 dT 3 19 ต.ค. 63
Lt. ovary cyst 3.34.1*5.0 cm
Elderly pregnancy
Down’s syndrome
Invasive
1.ตรวจชิ้นเนื้อรก [CVS:chorionic villous samping] (ไตรมาส1)
ใช้นำท่อส่องกล้องเข้าไปดึง/ดูดนำตัวอย่างรกไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ เสี่ยงแท้ง 0.5-2%
2.เจาะน้ำคร่ำ [Amniocentesis] ไตรมาส 2 16-18 wks.
แม่นยำ 99% ตรวจได้ทุกโครโมโซมในร่างกาย เสี่ยงแท้ง 1%
-
Non-invasive Prenatal Screening
(NIPS, NIFTY)
ก่อน 15 wks. (อ่านผล 2 wks.)
-
-
-
-
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- ครั้งที่ 9 : Repeat lab GA 30+2 wks. ค่า Hct 32.8 %
- Thalassemia
ภรรยา : MCV 78 / Hb E screening = Neg / Hb typing = Suspected Hb constant spring
สามี : MCV = 75.1 / Hb E screening = Neg / Hb typing = Normal Hb typing not rule out alpha thal
/Screening α Thal = Positive / PCR α Thal
Thalassemia
1 คัดกรอง
MCV/OF : < 80 fL (α, β)
DCIP/Hb E screening : Negative (E)
ค่าผิดปกติตัวใดตัวหนึ่ง
2 วินิจฉัย
Hb typing (E,β)
บอก E กี่ % ผลแลป
A2 น้อยกว่า 4 % : มีโอกาส α แฝง
-
-
-
-
Thalassemia major รุนแรงมาก
- 1. Hb Bart hydrop/Homozygous alpha-thal (α-thal1/α-thal1)
ตายคลอด หลังคลอดเสียชีวิต ซีด บวมน้ำ
มารดา ครรภ์เป็นพิษ ตกเลือดหลังคลอด ความดันโลหิตสูง
- Homozygous beta-thal (β-thal/β-thal)
ซีดตั้งเเต่ขวบปีแรก ร่างกายเเคระเเกรน จำเป็นต้องได้รับเลือดและยาขับเหล็กตลอดชีวิต
- Beta-thal/Hb E (β-thal/hbE)
น้อย-มาก เหมือนข้อ 2
การถ่ายทอด
- แบบที่ 1พาหะ + พาหะ
โรค 25 พาหะ 50 ปกติ 25
- แบบที่ 2 ปกติ + พาหะ
พาหะ 50 โรค 50
- แบบที่ 3 โรค + พาหะ
พาหะ 100
- แบบที่ 4 โรค + พาหะ
พาหะ 50 โรค 50
- แบบที่ 5 โรค + โรค
โรค 100
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ไตรมาส 1
1. ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดความผิดปกติของโครโมโซม ได้แก่ Down’s syndrome เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์อายุมาก
ข้อมูลสนับสนุน
หญิงตั้งครรภ์อายุ 40 ปี
วัตถุประสงค์
เพื่อคัดกรองเเละวินิจฉัย Down’s syndrome
เกณฑ์การประเมิน
1.มารดาได้รับการคัดกรองเเละวินิจฉัย Down’s syndrome เช่น Amniocentesis,CVS,เจาะเลือดจากสายสะดือ,NIPS เป็นต้น
2.มารดามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะ Down’s syndrome ที่อาจเกิดขึ้นได้
การพยาบาล
- 1.ซักประวัติ ตรวจครรภ์ และ Ultrasound เพื่อ confirm อายุครรภ์ในการมาฝากครรภ์ครั้งแรก เพื่อประเมินความเสี่ยงของมารดา ทารกในครรภ์ และวางแผนในการทำ Amniocentesis ของแพทย์เพื่อวินิจฉัยภาวะ Down’s syndrome
- 2.อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับภาวะ Down’s syndrome ที่อาจเกิดขึ้นได้กับทารกในครรภ์
- 3.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองเเละวินิจฉัยภาวะ Down’s syndrome ได้แก่ Amniocentesis (การวินิจฉัย)โดยปกติจะทำในช่วงอายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์ มีความแม่นยำ และสามารถตรวจได้ทุกโครโมโซมในร่างกาย มีโอกาสแท้ง 1 %
- แนะนำให้มารดามาตรวจ Ultrasound screening ตามนัดเพื่อประเมินความผิดปกติของทารกในครรภ์
- ติดตามผลตรวจคัดกรองเเละวินิจฉัยของภาวะ Down’s syndrome
การประเมินผล
ไตรมาสที่ 1 ก่อนมาฝากครรภ์ รพ.ตร. (28/07/63) เจาะ β HCG จากคลินิก ผล xx Low risk 13,18,21
ไตรมาสที่ 2 ฝากครรภ์ครั้งเเรก มารดาปฏิเสธ A/C ฝากครรภ์ครั้งที่ 3 GA 11+2 wks. ส่งตรวจ NIFTY ผล xx Low risk 13,28,21
มารดามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของโครโมโซมที่อาจเกิดขึ้นได้กับทารกในครรภ์ ได้แก่ Down’s syndrome
-
-