Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case study
Homozygous HbE - Coggle Diagram
Case study
Homozygous HbE
ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไป
- หญิงตั้งครรภ์อายุ 31 ปี 8 เดือน
- เชื้อชาติไทย / สัญชาติไทย / ศาสนาพุทธ
- ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
- สถานภาพ สมรส
- อาชีพ ผู้ช่วยผู้จัดการร้านอาหาร
ข้อมูลการตั้งครรภ์
G2P1001 GA23^4 wks by U/S
U/S วันที่ 21 ธันวาคม 2563 GA 9^4 wks by U/S
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 58 kg ส่วนสูง 168
BMI 20.55 kg/m2 (อยู่ในเกณฑ์ปกติ)
- ครรภ์แรก 21/04/52 Full term , Normal labor เพศชาย
น้ำหนัก 3200 กรัม แข็งแรงดี
- ครรภ์ปัจจุบัน ฝากครรภ์ครั้งแรก ที่รพ.ตำรวจ วันที่
21 ธันวาคม 2563 GA 9^4 wks by U/S
- ฝากครรภ์ที่ รพ.ตำรวจ จำนวน 6 ครั้ง
ข้อมูลสุขภาพ
- ประวัติการเจ็บป่วย ปฏิเสธ
- ประวัติครอบครัว ปฏิเสธ
- ประวัติการผ่าตัด ปฏิเสธ
- ประวัติการแพ้ยา/แพ้อาหาร ปฏิเสธ
- วัคซีนบาดทะยัก ครบ 3 เข็มเมื่อปี พ.ศ. 2552 และได้รับเข็มกระตุ้นเมื่อ 1 มีนาคม 2564
ยาที่หญิงตั้งครรภ์ได้รับ
- Besix 1x1 po. hs
- Folic acid 1x1 po pc
- Iodine 1x1 po. pc
- Dimen 1x1 po. pc
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ไตรมาสแรก
- มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เนื่องจากภาวะของโลหิตจาง
ข้อมูลสนับสนุน
SD :
- หญิงตั้งครรภ์บอกว่า ช่องแรกที่ตั้งครรภ์มีอาการเหนื่อยง่าย
OD :
- หญิงตั้งครรภ์ได้รับการวินิจฉัยเป็น Homozygous HbE
- Hb = 11.0g/dL
-
เกณฑ์การประเมินผล
- หญิงตั้งครรภ์สามารถบอกวิธีดูแลตอนเองๆด้อย่างน้อย 3 ข้อ
- หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพที่แข็งแรงดีขึ้น เหนื่อยง่ายลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
- แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอกลางคืน 6-8 ชั่วโมง กลางวัน 1 -2 ชั่วโมง เพื่อลดการใช้ออกซิเจนของร่างกายร่างกายสุขสบาย
- ออกกำลังกายแบบไม่หักโหมครั้งละ 15-30 นาทีสัปดาห์ละ 3 วัน เพื่อช่วยให้การไหลเวียนโลหิตดีขึ้น การน่าออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อต่างๆดี
- รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เน้นอาหารโปรตีนและอาหารที่มีกรดโฟลิคสูง เช่น เนื้อ นม ไข่ นม ถั่วเหลือง ผักสดใบสีเขียวเข้ม เพื่อเสริมสร้างพลังงานและช่วยในสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
- แนะนำการรับประทานยาเม็ดกรดโฟลิค ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อให้ร่างกายได้รับกรดโฟลิคเพียงพอส่าหรับการนำไปสร้างเม็ดเลือดแดง
- แนะนำการมาตรวจครรภ์ตามนัด การสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ซีด เหนื่อ ยอ่อนเพลียมา กและติดตามประเมินผลตรวจเลือดเพิ่มเติม
-
-
ไตรมาสสอง
- ส่งเสริมสุขภาพร่างกายของมารดาและพัฒนาการของทารกในครรภ์
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้คำแนะนำทางด้านโภชนาการแก่หญิงตั้งครรภ์ในไตรมาสที่ 2
- เน้นอาหารที่ให้พลังงานสูง และลดอาการท้องผูกในช่วงไตรมาสนี้ จะมีท้องที่ใหญ่ขึ้นทำให้ไปเบียดลำไส้ จึงทำให้มีอาการท้องผูกได้ อาหารที่ยังต้องเน้นทานอยู่ ก็คืออาหารที่ต้องทานในไตรมาสแรก แต่ในช่วงเดือนนี้ก็ควรเน้นพวกผักแลผลไม้เพิ่ม และควรแบ่งอาหารให้เป็นมื้อเล็กๆเพื่อลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารที่ควรเน้นเพิ่มเติมเข้ามาคือ
:one: ข้าวซ้อมมือ ขนมปังโฮลวีต มันเทศ ฟักทอง ข้าวโพด
:two: อาหารที่มีเส้นใยมากได้แก่ พวกผักและผลไม้ เช่นลูกพรุน แก้วมังกร ส้ม ผักกะเฉด คะน้า ผักหวาน ใบยอ แต่ควรหลีกเลี่ยงน้ำผลไม้ที่มีรสหวานจัด
:three: ดื่มน้ำเปล่าให้มากกว่าปกติ เพราะน้ำจะทำให้ระบบย่อยอาหารดี
- ดูแลให้คำแนะนำทางด้านการออกกําลังกาย
- ออกกำลังกายที่ไม่ใช้แรงเยอะ เช่น เดินเล่น วันละ 10 - 20 นาที ออกกำลังกายที่ไม่หักโหมจนเกินไป เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดี ท้องไม่ผูก นอนหลับสบาย
- ดูแลให้คำแนะนำทางด้านส่งเสริมพัฒนาการทารกในครรภ์
- กระตุ้นการได้ยิน เปิดเสียงเพลงให้อยู่ห่างจากหน้าท้องประมาณ 1 ฟุต และเปิดเสียงดังพอประมาณ คลื่นเสียงจะไปกระตุ้นการได้ยินให้พัฒนาระบบการทำงานได้เร็วขึ้น ทั้งนี้สามารถเปิดเพลงในแนวเพลงที่มีทำนองไพเพราะ ท่วงทำนองฟังสบาย อย่างเพลงคลาสสิคที่ขึ้นว่ามีส่วนช่วยเพิ่มไอคิวเสริมสร้างพัฒนาการทำให้สมองดี เฉลียวฉลาด และจดจำสิ่งต่าง ๆ ได้ดี
- การกระตุ้นการรับความรู้สึก และการเคลื่อนไหว สัมผัสหน้าท้องหรือลูบท้องเบา ๆ จะทำให้ทารกรู้สึกได้ถึงแรงสั่นสะท้อน ช่วยกระตุ้นระบบประสาทและสมองส่วนรับรู้ความรู้สึกของลูกให้มีพัฒนาการดีขึ้น
- การกระตุ้นการมองเห็น ใช้ไฟฉายส่องที่หน้าท้อง เปิดปิดไฟแบบกะพริบ ๆ เพื่อให้แสงเคลื่อนที่บนล่างอย่างช้า ๆ ผ่านหน้าท้องไปที่น้ำคร่ำ เล่นกับทารกด้วยวิธีนี้วันละ 5-10 ครั้งประมาณ 1-2 นาที ซึ่งทารกอาจจะมีการตอบสนองแสงไฟด้วยการดิ้นให้คุณแม่รับรู้ได้ การส่องไฟที่หน้าท้องนี้จะทำให้เซลล์สมองและเส้นประสาทส่วนรับภาพและการมองเห็นของทารกมีพัฒนาดีขึ้น
- แนะนำการจัดการกับความเครียด
- ทำความเข้าใจกับตัวเองว่า ความเครียดเหล่านั้นเกิดขึ้นจาก ฮอร์โมนธรรมชาติและความกังวลของตัวเอง และหาวิธีรับมือไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ เช่น หาวิธีผ่อนคลาย ทำกิจกรรมคลายเครียด ซึ่งอาจเป็นกิจกรรมที่ชอบทำอยู่แล้ว หรือกิจกรรมใหม่ๆที่อยากลอง เช่น ดูหนัง ฟังเพลง ทำงานศิลปะ จัดดอกไม้ วาดรูป ออกกำลังกายเบาๆ เช่น โยคะ ว่ายน้ำ นั่งสมาธิ เปลี่ยนบรรยากาศไปกินข้าวนอกบ้าน หรือออกไปพบปะเพื่อนๆ
ข้อมูลสนับสนุน
- หญิงตั้งครรภ์พร่องความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพร่างกายของมารดาและพัฒนาการของทารกในครรภ์
-
เกณฑ์การประเมินผล
- หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง น้ำหนักขึ้นตามเกณฑ์ (0.5 kg/wk)
- หญิงตั้งครรภ์สามารถบอกวิธีการส่งเสริมพัฒนาการทารกในครรภ์ได้อย่างน้อย 2 ข้อ
การประเมินผล
หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นตามเกณฑ์ (0.5 kg/wk) และสามารถบอกวิธีการส่งเสริมพัฒนาการทารกได้ 3 ข้อ
ไตรมาส 3
- หญิงตั้งพร่องความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ไตรมาส 3
ข้อมูลสนับสนุน
- หญิงตั้งครรภ์ไม่สามารถบอกถึงอาการผิดปกติที่ต้องสังเกตได้
- หญิงตั้งครรภ์จำอาการนำก่อนคลอดได้เล็กน้อย
-
เกณฑ์การประเมินผล
- หญิงตั้งครรภ์สามารถบอกอาการผิดปกติที่ต้องรีบมาโรงพยาบาลก่อนวันนัดได้
- หญิงตั้งครรภ์สามารถบอกอาการนำก่อนคลอดได้
กิจกรรมการพยาบาล
- ให้ความรู้เกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับอาการผิดปกติที่ต้องรีบมาโรงพยาบาลก่อนวันนัด
- ท้องแข็ง หรือเจ็บท้องทุก 5 - 10 นาที
- มีมูกเลือดหรือเลือดสดๆออกทางช่องคลอด
- มีน้ำเดิน
- ลูกดิ้นน้อยลง
- ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ บวม
- ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอ่การนำก่อนคลอด
- เจ็บครรภ์จริง มีอาการเจ็บเริ่มเจ็บบริเวณกลังใกล้บั้นเอว ร้าวไปหน้าขา
- มีน้ำเดิน
- แนะนำการเตรียมตัวมาคลอด
- ให้เตรียมเอกสารสำคัญต่างๆ
เตรียมค่ารักษาพยาบาล
- เสื้อผ้าใส่หลังคลอด 1 ชุด เน้นที่ให้นมทารกได้สะดวก
- ของใช้สำหรับทารก